Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ที่มีความผิดปกติทางเพศ (กระบวนการพยาบาล (ข้อวินิจฉัยทางการพยาบ…
การพยาบาลผู้ที่มีความผิดปกติทางเพศ
Sexual dysfunctions
(ภาวะบกพร่องทางเพศ) กลุ่มโรคที่มีความบกพร่องในการตอบสนองทางเพศ หรือการมีความสุขทางเพศ
การวินิจฉัยตาม DSM-V
มีอาการติดต่อกันนาน 6 เดือนขึ้นไป
อาการต้องเกิดเป็นส่วนใหญ่
ไม่ได้เกิดจากสาเหตุทางกาย
โรคในกลุ่มนี้
delayed ejaculation
อาการหลั่งอสุจิช้าหรือไม่สามารถหลั่งอสุจิได้
Erectile Disorder
องคชาตไม่มีการแข็งตัว
Female Orgasmic Disorder
เพศหญิงไม่เกิดความรู้สึกถึงจุดสุดยอด
Female Sexual Arousal Disorders
การตื่นตัวทางเพศต่ำหรือกามตายด้านในหญิง
Genito-pelvic pain/penetration disorder
อาการเจ็บบริเวณอวัยวะเพศ
male hypoactive sexual desire disorder
เพศชายมีความต้องการทางเพศลดลง
premature (early) ejaculation
การหลั่งอสุจิเร็วเกินไป
substance/medication-induced sexual dysfunction
อาการที่มีความผิดปกติในด้านเพศกับการใช้ยา
การรักษา
การรักษาด้วยยา
กรณีของความผิดปกติของการแข็งตัวขององคชาต
พฤติกรรมบำบัด assertive training
ช่วยฝึกให้ผู้ป่วยบอกความต้องการในเรื่องเพศได้อย่างเหมาะสม
Gender dysporia Gender
dysphoria ภาวะความไม่พอใจในเพศตัวเอง
การวินิจฉัยตาม DSM-V
ผู้ป่วยรู้สึกว่าตนเองเป็นอีกเพศหนึ่ง
โดยมีระยะเวลาไม่ต่ำกว่า6เดือน
ภาวะในข้อ1ทำให้ผู้ป่วยทุกข์ใจอย่างมาก
การดูแลรักษา
ส่งเสริมพัฒนาการทางเพศตามปกติ
กรณีเป็นผู้ที่มีภาวะรักร่วมเพศที่ผ่านขั้นตอนตามข้อ1-2แล้ว ให้ความรู้ความเข้าใจ การปรับตัว
ตรวจพบโรคต้องส่งปรึกษาผู้เชี่ยวชาญ
หลังจากรักษาเบื้องต้นทางจิตใจและสังคมแล้วยังคงต้องการแปลงเพศ จิตแพทย์จะให้ความรู้เรื่องโรค
ให้คำปรึกษาผู้ป่วยและครอบครัว ให้ผู้ป่วยทดลองใช้ชีวิตแบบเพศใหม่ 1 ปี
Paraphilic disorders
ภาวะเบี่ยงเบนทางเพศ
จำแนกเป็น
anomalous activity preference
Voyeuristic disorder
Sexual Masochism disorder
Exhibitionistic disorder
Sexual Sadism disorder
anomalous target preference
Pedophilic disorder
Fetishistic disorder
Transvestic disorder
การรักษา
การใช้ยา
ใช้หลักการลดระดับ testosterone
ลดกิจกรรมทางเพศ เรียกว่า chemical castration
antiandrogen
cyproterone acetate
medroxyprogesterone
hormonal agents
long-acting gonadotropin-releasing hormone agonists
leuteinizing hormone-releasing hormone inhibitors
จิตบำบัด
cognitive behavioral therapy
relapse prevention therapy
victim empathy
พฤติกรรมบำบัด
olfactory aversion conditioning
covert sensitization
masturbatory satiation
orgasmic reconditioning
กลุ่มบำบัด
กระบวนการพยาบาล
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
ขาดความรู้เรื่องเพศศึกษา
การสื่อสารด้วยวาจาบกพร่อง
แบบแผนการนอนหลับเปลี่ยนแปลง
วิตกกังวล
ภาวะซึมเศร้า
การนับถือคุณค่าในตนเองต่ำ
ภาพลักษณ์แปรปรวน
เสี่ยงต่อการทำร้ายตนเอง
การมีปฏิสัมพันธ์ทางสังคมบกพร่อง
การมีความทุกข์ทางจิตวิญญาณ
การวางแผนทางการพยาบาล
objective data
แสดงท่าทางรังเกียจคู่ครอง
แต่งกายแบบเพศตรงข้าม
เด็กหญิงเล่นชกต่อย
subjective data
ผู้ป่วยบอกว่า “ฉันเจ็บปวดเวลามีเพศสัมพันธ์”
เด็กชายพูดว่า “หนูเป็นผู้หญิง”
การกำหนดข้อวินิจฉัย
เห็นคุณค่าในตนเอง และสามารถให้ความสุขกับภรรยาได้
มีความสุขในการดาเนินชีวิตและการครองชีวิตคู่
การวางเป้าหมาย
แบบแผนการนอนหลับเปลี่ยนแปลง เนื่องจากความวิตกกังวล
การทำหน้าที่ในครอบครัวบกพร่อง เนื่องจากการแสดงบทบาทผิดเพศ
การประเมินภาวะสุขภาพ
เป็นการประเมินภาวะสุขภาพทั้ง11แบบแผน
เช่น แบบแผนการพักผ่อนและการนอนหลับ
ในรายที่มีความเครียด วิตกกังวล ซึมเศร้า จะมีนอนไม่หลับได้
การประเมินผล
รับการบำบัดตามแผนการรักษา
แสดงความรู้สึกอย่างเปิดเผยและจริงใจกับคู่ครองได้
บอกความรู้เรื่องเพศได้ถูกต้อง
แต่งกายและแสดงกิริยามารยาทได้ถูกต้อง
บอกวิธีปรับตัวที่เหมาะสม
การปฏิบัติทางการพยาบาล
3.ให้ความสำคัญกับปัญหาปัจจุบันของผู้ป่วยก่อน
2.สร้างสัมพันธภาพด้วยท่าทีที่ยอมรับ เข้าใจ
4.แนะแนวทางให้ผู้ป่วยได้รับข้อมูลในเรื่องเพศศึกษาอย่างถูกวิธี
1.ก่อนการเริ่มพยาบาลต้องมีความรู้ความเข้าใจเรื่องเพศศึกษา
5.ให้ความรู้ผู้ป่วยเกี่ยวกับความผิดปกติทางเพศ สาหตุ อาการ การบำบัด
6.แนะนำผู้ป่วยให้รู้จักการสื่อสารอย่างเหมาะสม
8.ช่วยเสริมสร้างความรู้สึกมีคุณค่าในตนเองของผู้ป่วยที่สัมพันธ์กับเรื่องเพศ
7.ช่วยผู้ป่วยประเมินความรู้สึกของตนเองเกี่ยวกับความกลัว ความวิตกกังวล