Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ที่มีความผิดปกติทางเพศ (3 Paraphilic disorders (การรักษา (3…
การพยาบาลผู้ที่มีความผิดปกติทางเพศ
1 Sexual dysfunctions
กลุ่มโรคที่มีความบกพร่องในการตอบสนองทางเพศ หรือการมีความสุขทางเพศ
การวินิจฉัย
1.มีอาการติดต่อกันนาน6เดือนขึ้นไป
2.อาการต้องเกิดเป็นส่วนใหญ่(ร้อยละ75-00)
ในกิจกรรมทางเพศของบุคคลนั้น
3.ไม่ได้เกิดจากสาเหตุทางกายเช่นการบาดเจ็บของเส้นประสาทที่มาเลี้ยงบริเวณอุ้งเชิงกราน ไม่ได้เป็นผลของสารเสพติดหรือยา ไม่ได้เป็นอาการแสดงของโรคจิตเวชอื่นเช่นโรคซึมเศร้าซึ่งผู้ป่วยอาจจะมีความสนใจหรือความพึงพอใจทางเพศลดลงได้อย่างมาก และไม่ได้เกิดจากปัญหาความสัมพันธ์ที่รุนแรงเช่นถูกทำร้ายร่างกายจากอีกฝ่าย
โรคในกลุ่มนี้มีดังต่อไปนี้
1.delayed ejaculation คืออาการหลั่งอสุจิช้าหรือไม่สามารถหลั่งอสุจิได้
Erectile Disorder คืออาการองคชาตไม่มีการแข็งตัว
Female Orgasmic Disorder คืออาการที่เพศหญิงไม่เกิดความรู้สึกถึงจุดสุดยอด
Female Sexual Arousal Disorders คืออาการตื่นตัวทางเพศต่ำหรือกามตายด้านในหญิง
5.Genito-pelvic pain/penetration disorder คืออาการเจ็บบริเวณอวัยวะเพศหรือช่องท้องส่วนล่างเมื่อมีความพยายามจะสอดใส่
6.male hypoactive sexual desire disorder คืออาการ
ที่เพศชายมีการลดลงหรือไม่มีความต้องการทางเพศ
7.premature (early) ejaculation คืออาการหลั่งอสุจิเร็วเกินไป
8.substance/medication-induced sexual dysfunction คือ
อาการที่มีความผิดปกติในด้านเพศโดยมีความเกี่ยวข้องทางช่วงเวลากับการใช้ยาหรือสารเสพติด
การรักษา
1.การรักษาด้วยยา ในกรณีของความผิดปกติของการแข็งตัวขององคชาต
ยาในกลุ่ม phosphodiesterase-5 inhibitor ได้แก่ verdanafil,tadalafil เป็นยาหลัก
2.พฤติกรรมบำบัด assertive training เพื่อช่วยฝึกให้ผู้ป่วยบอกความต้องการในเรื่องเพศได้อย่างเหมาะสม
2 Gender dysporia
ภาวะความไม่พอใจในเพศตัวเอง
การวินิจฉัย
1.ผู้ป่วยรู้สึกว่าตนเองเป็นอีกเพศหนึ่ง ซึ่งแตกต่างกับเพศที่ถูกกำหนดมาแต่กำเนิด โดยมีระยะเวลาไม่ต่ำกว่า6เดือน
2.ภาวะในข้อ1ทำให้ผู้ป่วยทุกข์ใจอย่างมากหรือส่งผลเสียต่อการใช้ชีวิตด้านต่างๆ
การดูแลรักษา
1.หากตรวจพบโรคทางกายหรือความผิดปกติของพัฒนาการต้องส่งปรึกษาผู้เชี่ยวชาญ
2.ส่งเสริมพัฒนาการทางเพศตามปกติ
3.กรณีเป็นผู้ที่มีภาวะรักร่วมเพศที่ผ่านขั้นตอนตามข้อ1-2แล้ว ให้ความรู้ความเข้าใจ การปรับตัว การแสดงออกในสังคม การทำความเข้าใจตนเอง
4.หลังจากรักษาเบื้องต้นทางจิตใจและสังคมแล้ว ผู้ป่วยยังคงต้องการแปลงเพศ จิตแพทย์จะให้ความรู้เรื่องโรคและการแปลงเพศ ให้คำปรึกษาผู้ป่วยและครอบครัว จากนั้นจะให้ผู้ป่วยทดลองใช้ชีวิตแบบเพศใหม่ 1 ปี ระหว่างนี้ผู้ป่วยจะกินฮอร์โมนเพศไปด้วย หากผู้ป่วยยังคงไม่เปลี่ยนใจ จะปรึกษาจิตแพทย์คนที่2เพื่อการวินิจฉัยโรค หากพบว่าผู้ป่วยไม่มีปัญหาทางจิตเวชใดๆ แล้วจึงปรึกษาแพทย์ผู้ผ่าตัดแปลงเพศต่อไป
3 Paraphilic disorders
ภาวะเบี่ยงเบนทางเพศ
3.1กลุ่ม anomalous activity preference ประกอบด้วย
3.1.1Voyeuristic disorder (ชอบแอบมองคนเปลือยกายหรือร่วมเพศ )
3.1.2 Exhibitionistic disorder (ชอบอวดอวัยวะเพศให้คนแปลกหน้า ที่ไม่ได้คาดคิด )
3.1.3Sexual Masochism disorder (พึงพอใจทางเพศจากการที่ตนเองได้รับความเจ็บปวด )
3.1.4Sexual Sadism disorder (พึงพอใจทางเพศจากการทำให้ผู้อื่นเจ็บปวด )
3.2กลุ่มanomalous target preference ประกอบด้วย
3.2.1Pedophilic disorder (พึงพอใจกับเด็ก )
3.2.2Fetishistic disorder (พึงพอใจกับวัตถุ )
3.2.3 Transvestic disorder (พึงพอใจใส่เครื่องแต่งกายเพศตรงข้าม)
การรักษา
1.การใช้ยา ใช้หลักการลดระดับ testosterone
เพื่อลดกิจกรรมทางเพศ เรียกว่า chemical castration
โดยกลุ่มยาที่ใช้คือ
1.1antiandrogen เช่น cyproterone acetate ,medroxyprogesterone
1.2hormonal agents เช่น long-acting gonadotropin-releasing hormone agonists,leuteinizing hormone-releasing hormone inhibitors
2.การรักษาด้วยจิตบำบัด
2.1cognitive behavioral therapy
2.2relapse prevention therapy
2.3victimempathy
3.พฤติกรรมบำบัด
ใช้หลักการของpositive and
negative reinforcements
3.1olfactory aversion conditioning
3.2covert sensitization
3.3masturbatory satiation
3.4orgasmic reconditioning
4.กลุ่มบำบัด