Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ความผิดปกติของการนอนหลับและการตื่น (sleep-wake disorder) (กลุ่มโรค…
ความผิดปกติของการนอนหลับและการตื่น
(sleep-wake disorder)
กลุ่มโรค
โรคนอนไม่หลับ (insomnia disorder)
นอนหลับยาก นอนหลับไม่สนิทหรือตื่นบ่อยๆกลางดึกหรือมีการตื่นนอนเร็วกว่าปกติ
โรคนอนหลับมากผิดปกติ
(hypersomnolence disorder)
มีอาการง่วงนอนหรือนอนหลับมากกว่าปกติ รู้สึกเหมือนนอนไม่พอ ไม่สดชื่น ทั้งที่ได้นอนหลับตอนกลางคืนอย่างเต็มที่ตั้งแต่7ชั่วโมงขึ้นไป
โรคลมหลับ(narcolepsy)
ง่วงนอนมากเกินไป ไม่สามารถต้านทานความง่วงที่เกิดขึ้นได้อย่างรวดเร็วได้
โรคนอนหลับจากปัญหาการหายใจ
(breating-related sleep disorder)
ผู้ป่วยขาดหายใจเป็นช่วงหรือลมหายใจลดลงจนเป็นผลให้ระดับออกซิเจนในเลือดน้อยลง
ความผิดปกติจากวงจรเวลาการนอนหลับและการตื่น
(circadian rhythmSleep-wake disorder)
ทำให้การง่วงนอนเกิดขึ้นไม่เหมาะสมกับช่วงเวลาที่สามารถนอนหลับได้
โรคการตื่นตัวผิดปกติขณะนอนหลับในช่วงไม่มีการกลอกลูกตาอย่างรวดเร็ว(non-Rapid eye movement sleep arousal disorder)
ชนิดละเมอเดิน(sleep walking type)
ชนิดฝันผวา(sleep terror)
โรคฝันร้าย(nightmare disorder)
โรคผิดปกติของพฤติกรรมการนอนหลับในช่วง rem sleep
เคลื่อนไหวร่างกายตามความฝัน
โรคขาอยู่ไม่สุข(restless legs syndrom)
โรคการนอนที่เกิดจากสารหรือยา
(substance/medication-induce sleep disorder)
การรักษา
ยานอนหลับ
ปัจจุบันใช้ยาในกลุ่ม benzodiazepines
ยาต้านเศร้า(antidepressants)
การแก้ไขการรู้การเข้าใจและพฤติกรรม cognitive-behavioral therapy
ให้การศึกษาเรื่อง sleep hygine
ควบคุมการกระตุ้น
จำกัดการนอน
สุขอนามัยที่ดีของการนอนหลับ (sleep hygiene)
สิ่งที่ควรปฏิบัติ
ควรรักษาความสมดุลและความสม่ำเสมอในกิจวัตรประจำวัน
จัดบรรยากาศและสิ่งแวดล้อมที่ช่วยให้นอนหลับได้ดีขึ้น
ปรับท่านอนให้เหมาะสมกับตนเอง
รับประทานอาหารว่างเบาๆ ก่อนนอน
ควรออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอทุกวัน
สิ่งที่ควรหลีกเลี่ยง
ในระหว่างกลางวันพยายามไม่งีบหลับ
หลีกเลี่ยงการบริโภคสารคาเฟอีน (caffeine)
หลีกเลี่ยงการดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์เป็นส่วนผสม
การออกกำลังกายที่หนักและหักโหม
กิจกรรมที่ทำให้เกิดความเครียด ในช่วงเวลาใกล้นอน
การดื่มน้ำจำนวนมากก่อนนอน
ให้ความรู้เกี่ยวกับจังหวะวงจรชีวิต
( circadian rhythm)
พฤติกรรมที่เหมาะสมตามเวลาของการหลับและตื่น
การรับแสง
เปลี่ยนแปลงการรู้การเข้าใจเพื่อเพิ่มความร่วมมือกับพฤติกรรมและลดภาวะการตื่นตัว
การปฏิบัติตัวเพื่อลดความเครียด
รับประทานให้ครบห้าหมู่
งดสูบบุหรี่
มีกิจกรรมให้ความสุข
ฝึกผ่อนคลายกล้ามเนื้อ
ปรับวิธีคิดให้ถูกต้อง
เทคนิคการลดความเครียดอย่างอื่น
การฝึกการหายใจ
การนวด
การอบตัว
รสสุคนธ์บำบัด
การบำบัดทางการพยาบาล
Sleep Enhancement
เป็นการเอื้อ (facilitation) ให้ผู้ป่วยได้รับการหลับได้ อย่างพอเพียงตามความต้องการ
Environment Management
Comfort
Medication Management
Pain Management
Urinary Incontinent Care
Simple Massage
Simple Relaxation Therapy
นางสาวกชกร สีน้ำเงิน เลขที่ 1 ห้อง A ชั้นปีที่ 3