Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ที่มี ความผิดปกติทางจิต (ผู้ที่มีความผิดปกติของ …
การพยาบาลผู้ที่มี
ความผิดปกติทางจิต
ผู้ที่มีความผิดปกติของ
การนอนหลับและการตื่น
(sleep-wake disorder)
ตาม DSM-5
ประกอบด้วย
โรคนอนไม่หลับ (insomnia disorder)
โรคนอนหลับมากผิดปกติ
(hypersomnolence disorder)
โรคลมหลับ(narcolepsy)
ความผิดปกติจากวงจรเวลา
การนอนหลับและการตื่น
กลุ่มโรคนอนหลับจากปัญหาการหายใจ
(breating-related sleep disorder)
โรคการตื่นตัวผิดปกติขณะนอนหลับใน
ช่วงไม่มีการกลอกลูกตาอย่างรวดเร็ว
โรคฝันร้าย (nightmare disorder)
โรคผิดปกติของพฤติกรรมการ
นอนหลับในช่วง rem sleep
โรคขาอยู่ไม่สุข
(restless legs syndrom)
โรคการนอนที่เกิดจากสารหรือยา
การรักษา
ยานอนหลับ
กลุ่ม benzodiazepines
ผลข้างเคียง
ความบกพร่อง
ของความจำ
เกิดอาการง่วงนอน
บกพร่องในการมอง
เห็นภาพ 3มิติ
และความสนใจ
เสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุ
อาจทำให้การยับยั้ง
หรือการควบคุม
พฤติกรรมลดลง
ถ้าใช้ยาเป็นเวลานาน
จะมีอาการวิตกกังวล
และซึมเศร้า
ยาต้านเศร้า
(antidepressants)
amitriptyline
clomipramine
imipramine
nortriptyline
ยาในกลุ่ม ssri s
(escitalopram, sertraline, fluoxetine, fluvoxamine, paroxetine)
ยาต้านเศร้าอื่นๆ
(venlafaxine,trazadone,nefazodone,mirtazapine)
แก้ไขการรู้การเข้าใจและพฤติกรรม
cognitive-behavioral therapy
เปลี่ยนพฤติกรรม
ของผู้ป่วยด้วยวิธีการ
ให้การศึกษาเรื่อง
sleep hygine
ควบคุมการกระตุ้น
จำกัดการนอน
สุขอนามัยที่ดีของ
การนอนหลับ
(sleep hygiene)
สิ่งที่ควรปฏิบัติ
1.ควรรักษาความสมดุล และความสม่ำเสมอ
ในกิจวัตรประจำวันต่าง ๆ
2.ในห้องนอน ควรจัดสิ่งแวดล้อมที่ช่วยให้นอนหลับได้ดีขึ้น
3.ควรปรับท่านอนให้เหมาะสมกับตนเอง
การรับประทานอาหารว่างเบาๆ ก่อนนอน
ควรหาวิธีผ่อนคลายความเครียดบ้าง
อาบหรือแช่น้ำอุ่นก่อนนอนประมาณ 1 ชั่วโมง
อาจทำให้หลับดีขึ้นได้
ก่อนนอน ควรทำกิจกรรมสั้นๆ ให้ร่างกายทราบว่า
เวลาเข้านอนแล้ว เช่น ฟังดนตรีที่ผ่อนคลาย
ควรหลับต่อเนื่องอย่างน้อย 6 -8 ชั่วโมงต่อวัน
และควรเข้านอนก่อนเที่ยงคืน
ถ้าไม่สามารถหลับได้ หลังจากเข้านอนแล้ว เกิน 30 นาที
ควรลุกขึ้นจากเตียงนอน แล้วทำกิจกรรมชนิดอื่นแทน
เช่น อ่านหนังสือ
ถ้าตื่นขึ้นกลางดึก หลังเข้านอนแล้ว ไม่ควรพยายามกดดันตนเองเพื่อให้รีบนอนจนเกินไป
ควรควบคุมน้ำหนักตัวไม่ให้มากเกินไป
ควรออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอทุกวัน
ควรรับประทานยาตามที่แพทย์แนะนำในแต่ละช่วงเวลา
ผู้สูงอายุ หรือผู้ที่ไม่ค่อยได้ออกไปข้างนอกบ้าน
ควรสัมผัสกับแสงอาทิตย์ระหว่างวันบ้าง เพราะแสงสามารถช่วยกระตุ้นให้ร่างกายสร้าง melatonin
ซึ่งช่วยให้นอนหลับได้ดีขึ้น
สิ่งที่ควรหลีกเลี่ยง
ในระหว่างกลางวัน พยายามไม่งีบหลับ
หลีกเลี่ยงการบริโภคสารคาเฟอีน
หลีกเลี่ยงการดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์
เป็นส่วนผสมภายใน 4-6 ชั่วโมงก่อนนอน
หลีกเลี่ยงการใช้สารนิโคติน เช่น สูบบุหรี่
หลีกเลี่ยงยาที่มีฤทธิ์กระตุ้นประสาท
หลีกเลี่ยงการรับประทานอาหารจำนวนมาก หรืออาหารที่ย่อยยาก
หลีกเลี่ยงการออกกำลังกายที่หนักและหักโหม
หลีกเลี่ยงกิจกรรมที่ทำให้เกิดความเครียด
ในช่วงเวลาใกล้นอน
หลีกเลี่ยงการดื่มน้ำจำนวนมากก่อนนอน
หลีกเลี่ยงการใช้ยานอนหลับอย่างต่อเนื่อง
นานเกิน 1 เดือน
หลีกเลี่ยงการทำกิจกรรมอื่นๆบนเตียงนอน
เช่น อ่านหนังสือ, ทำงาน
ผู้ที่มีความผิดปกติ
ทางเพศ
Sexual dysfunctions (ภาวะบกพร่องทางเพศ)
การวินิจฉัย
มีอาการติดต่อกันนาน 6เดือนขึ้นไป
อาการต้องเกิดเป็นส่วนใหญ่
ในกิจกรรมทางเพศของบุคคลนั้น
ไม่ได้เกิดจากสาเหตุทางกาย
การบาดเจ็บของเส้นประสาท
ที่มาเลี้ยงบริเวณอุ้งเชิงกราน
ไม่ได้เป็นผลของสารเสพติดหรือยา
ไม่ได้เป็นอาการแสดงของโรคจิตเวชอื่น
โรคในกลุ่มนี้มี
delayed ejaculation
อาการหลั่งอสุจิช้าหรือไม่สามารถหลั่งอสุจิได้
Erectile Disorder
อาการองคชาตไม่มีการแข็งตัว
Female Orgasmic Disorder
อาการที่เพศหญิงไม่เกิดความรู้สึกถึงจุดสุดยอด
Female Sexual Arousal Disorders
อาการตื่นตัวทางเพศต่ำหรือกามตายด้านในหญิง
Genito-pelvic pain/penetration disorder
อาการเจ็บบริเวณอวัยวะเพศหรือช่องท้องส่วนล่างเมื่อมีความพยายามจะสอด
male hypoactive sexual desire disorder
อาการที่เพศชายมีการลดลงหรือ
ไม่มีความต้องการทางเพศ
premature (early)
ejaculation
อาการหลั่งอสุจิเร็วเกินไป
substance/medication-induced sexual dysfunction
อาการที่มีความผิดปกติ
ในด้านเพศโดยมีความ
เกี่ยวข้องทางช่วงเวลา
กับการใช้ยาหรือสารเสพติด
การรักษา
การรักษาด้วยยา
กรณีของความผิดปกติ
ของการแข็งตัวขององคชาต
ยากลุ่ม phosphodiesterase-5 inhibitor
verdanafil, tadalafil
พฤติกรรมบำบัด
assertive training
เพื่อช่วยฝึกให้ผู้ป่วย
บอกความต้องการ
ในเรื่องเพศได้
อย่างเหมาะสม
Gender dysphoria
(ภาวะความไม่พอใจในเพศตัวเอง)
การวินิจฉัย
ผู้ป่วยรู้สึกว่าตนเอง
เป็นอีกเพศหนึ่ง
ซึ่งแตกต่างกับเพศ
ที่ถูกกำหนดมา
แต่กำเนิด นานไม่ต่ำกว่า 6เดือน
ภาวะในข้อ1
ทำให้ผู้ป่วยทุกข์ใจ
อย่างมากหรือ
ส่งผลเสียต่อการ
ใช้ชีวิตด้านต่างๆ
การดูแลรักษา
ส่งเสริมพัฒนาการ
ทางเพศตามปกติ
กรณีเป็นผู้ที่มีภาวะรักร่วมเพศ
ให้ความรู้ความเข้าใจ
การปรับตัว การแสดงออก
การทำความเข้าใจตนเอง
ตรวจพบโรคทางกายหรือความ
ผิดปกติของพัฒนาการต้อง
ส่งปรึกษาผู้เชี่ยวชาญ
หลังจากรักษาเบื้องต้น
ทางจิตใจและสังคมแล้ว
ผู้ป่วยยังคงต้องการแปลงเพศ
ให้ผู้ป่วยทดลองใช้ชีวิต
แบบเพศใหม่ 1 ปี
ระหว่างนี้ผู้ป่วยจะกินฮอร์โมนเพศไปด้วย
หากผู้ป่วยยังคงไม่
เปลี่ยนใจ
ปรึกษาจิตแพทย์คนที่ 2
เพื่อการวินิจฉัยโรค
Paraphilic disorders
(ภาวะเบี่ยงเบนทางเพศ)
กลุ่ม anomalous activity preference
Voyeuristic disorder
ชอบแอบมองคนเปลือยกาย
หรือร่วมเพศ
Exhibitionistic disorder
ชอบอวดอวัยวะเพศให้คนแปลกหน้า
Sexual Masochism disorder
พึงพอใจทางเพศจากการที่ตนเอง
ได้รับความเจ็บปวด
Sexual Sadism disorder
พึงพอใจทางเพศจากการ
ทำให้ผู้อื่นเจ็บปวด
กลุ่ม anomalous target preference
Pedophilic disorder
(พึงพอใจกับเด็ก)
Fetishistic disorder
(พึงพอใจกับวัตถุ)
Transvestic disorder
(พึงพอใจใส่เครื่อง
แต่งกายเพศตรงข้าม)
การรักษา
การใช้ยา
ลดระดับ testosterone
เพื่อลดกิจกรรมทางเพศ
antiandrogen
cyproterone acetate ,medroxyprogesterone
hormonal agents
long-acting gonadotropin-releasing hormone agonists
รักษาด้วยจิตบำบัด
cognitive behavioral therapy
relapse prevention therapy
victim empathy
พฤติกรรมบำบัด
ใช้หลักการของ positive and negative reinforcements
olfactory aversion conditioning
covert sensitization
masturbatory satiation
orgasmic reconditioning
กลุ่มบำบัด
นางสาวฐิติพร จันสี เลขที่ 19 ห้อง A
นักศึกษาหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิตชั้นปีที่ 3 รุ่นที่ 24