Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ที่มีความผิดปกติทางเพศ (กิจกรรมการพยาบาลที่สำคัญ (1…
การพยาบาลผู้ที่มีความผิดปกติทางเพศ
Sexual dysfunctions
(ภาวะพร่องทางเพศ)
การวินิจฉัย
1.มีอาการติดต่อกันนาน 6 เดือนขึ้นไป
2.อาการต้องเกิดเป็นส่วนใหญ่ ในกิจกรรมทางเพศของ
3.ไม่ได้เกิดจากสาเหตุทางกาย
โรคในกลุ่มนี้
1.Delayed ejaculation
2.Erectile disored
3.Female orgasmic disorder
4.Female sexual arousal disorders
5.Genito - pelvic pain/penetration disorder
6.Male hypoactive sexual desire sisire disorder
7.Premature(early) ejaculation
8.Substance/medication-induced sexual dysfunction
การรักษา
1.การรักษาด้วยยา
ในกรณีของความผิดปกติของการแข็งตัวขององคชาต ได้แก่ Verdanafil, Tadalafil เป็นยาหลัก
2.พฤติกรรมบำบัด
Assertive training เพื่อช่วยฝึกให้ผู้ป่วยบอกความต้องการในเรื่องเพศได้อย่างเหมาะสม
Gender Dysphoria
(ภาวะไม่พอใจในเพศตนเอง)
การวินิจฉัย
1.ผู้ป่วยรู้สึกว่าตนเองเป็นอีกเพศหนึ่ง ซึ่งแตกต่างกับเพศที่ถูกกำหนดมาแต่กำเนิด โดยมีระยะเวลาไม่ต่ำกว่า 6 เดือน
2.ภาวะข้อ 1 ทำให้ผู้ป่วยทุกขืใจอย่างมากหรือส่งผลเสียต่อการใช้ชีวิต
การดูแลรักษา
1.หากตรวจพบโรคทางกายหรือความผิดปกติของพัฒนาการต้องส่งปรึกษาผู้เชี่ยวชาญ
2.ส่งเสริมพัฒนาการทางเพศตามปกติ
3.กรณีเป็นผุ้ที่มีภาวะรักร่วมเพศที่ผ่านขั้นตอนตามข้อ 1-2 แล้ว ให้ความรู้ความเข้าใจ การปรับตัว การแสดงออกในสังคม การทำความเข้าใจตนเอง
4.หลังจากรักษาเบื้งต้นทางจิตใจและสังคมแล้ว ผู้ป่วยยังคงต้องการแปลงเพศ จิตแพทยืจะให้ความรู้เรื่องโรคและการแปลงเพศ จากนั้นให้ทดลองใช้ชีวิตแบบเพสใหม่ หากพบว่าไม่มีปัญหาจิตเวชใดๆแล้วจึงปรึกษาแพทย์ผู้ผ่าตัดแปลงเพศ
Paraphilic disorders
(ภาวะเบี่ยงเบนทางเพศ)
การจำแนก
กลุ่ม Anomalous
activity preference
Exhibitionistic disorder ชอบอวด
อวัยวะเพศให้คนแปลกหน้า
Voyeuristic disorder ชอบแอบมอง
คนเปลือยกายหรือร่วมเพศ
Sexual Masochism disorder พึงพอใจทาง
เพศจากการที่ตนเองได้รับความเจ็บปวด
Sexual sadism disorder พึงพอใจทาง
เพศจากการทำให้ผู้อื่นเจ็บปวด
กลุ่ม Anomalous
target preference
Pedophilic disorder
พึงพอใจกับเด็ก
Fetishistic disorder
พึงพอใจกับวัตถุ
Transvestic disorder พึงพอใจ
ใส่เครื่องแต่งกายเพศตรงข้าม
การรักษา
1.การใช้ยา ใช้หลักการลดระดับ Testosterone
เพื่อลดกิจกรรมทางเพศ
2.การรักษาด้วยจิตบำบัด
CBT , relapse prevention Therapy , Victimempathy
3.พฤติกรรมบำบัด ใช้หลักการของ
Positive and negative reinforcements
4.กลุ่มบำบัด
กิจกรรมการพยาบาลที่สำคัญ
1.ก่อนการเริ่มกิจกรรมพยาบาล พยาบาล
ต้องมีเจคคติที่ดีในเรื่องเพศ
2.สร้างสัมพันธภาพด้วท่าทางที่ยอมรับ เข้าใจ
และพร้อมที่จะรับฟังผู้ป่วย
3.ให้ความสำคัญกับปัญหาปัจจุบันของผู้ป่วย
4.แนะแนวทางใผู้ป่วยได้รับข้อมูลใน
เรื่องเพศศึกษาอย่างถูกวิธี
5.ให้ความรู้ผู้ป่วยเกี่ยวกับความผิดปกติทางเพศ ถึงสาเหตุ อาการ และการบำบัดรักษา
6.แนะนำผู้ป่วยให้รู้จักการสื่อสารอย่างเหมาะสม และให้โอกาศฝึกทักษาสัมพันธภาพ
7.ช่วยเสริมสร้างความรู้สึกมีคุณค่าในตนเองของผู้ป่วยที่มีสัมพันธ์กับเรื่องเพศ
นางสาวเมทนี บรรลือ เลขที่ 54 ห้อง A ชั้นปีที่ 3