Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ปัญหา สาเหตุ ผลกระทบ เสนอแนวทางในการป้องกันแก้ไขของปัญหาต่างๆ (2…
ปัญหา สาเหตุ ผลกระทบ เสนอแนวทางในการป้องกันแก้ไขของปัญหาต่างๆ
1.ภาวะโลกร้อน
สาเหตุ
ภาวะโลกร้อนคือการที่อุณหภูมิเฉลี่ยของโลกเพิ่มขึ้นจากภาวะเรือนกระจกหรือที่เรารู้จักกันดีในชื่อว่า Green house effect ซึ่งมีต้นเหตุจากในชั้นบรรยากาศมีปริมาณก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์จำนวนมากจากการเผาไหม้เชื้อเพลิงต่างๆการขนส่งและการผลิตในโรงงานอุตสาหกรรมนอกจากนั้นมนุษย์เรายังได้เพิ่มก๊าซกลุ่มไนตรัสออกไซด์และคลอโรฟลูโรคาร์บอน( CFC)
แนวทางการป้องกัน
.ลดการใช้พลังงานที่ไม่จำเป็นจากเครื่องใช้ไฟฟ้า
เลือกใช้ระบบขนส่งมวลชน เพื่อลดเกิดการเผาผลาญเชื้อเพลิง ซึ่ง และ ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์
พยายามรับประทานอาหารให้หมด เศษอาหารที่เหลือทิ้งไว้จะก่อให้เกิดก๊าซมีเทนซึ่งก่อให้เกิดปริมาณความร้อนต่อโลก เมื่อหลายคนรวมๆกันก็เป็นปริมาณความร้อนที่มาก
ช่วยกันปลูกต้นไม้ เพราะต้นไม้จะช่วยดูดก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ซึ่งเป็นสาเหตุภาวะเรือนกระจก
ลดการใช้โฟมและพลาสติก เนื่องจากพลาสติกเหล่านี้ทำการย่อยสลายยาก
ปัญหา
การตัดไม้ทำลายป่า การเผาป่า
การทำการเกษตรและการปศุสัตว์ จะเพิ่มปริมาณก๊าซเรือนกระจก เช่น ก๊าซมีเทนจากการทำนาข้าว จากการย่อยสลายซากสิ่งมีชีวิต จากมูลสัตว์เลี้ยง
การเผาไหม้เชื้อเพลิงจากถ่านหิน น้ำมันและก๊าซธรรมชาติ จากโรงงานอุตสาหกรรมต่างๆ ทำให้เพิ่ม ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ก๊าซมีเทน ก๊าซไนตรัสออกไซด์จากการเผาขยะ
การใช้ยานพาหนะ รถจักรยานยนต์ รถยนต์ จะปล่อยควันจากท่อไอเสียปล่อยก๊าซโอโซน ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ออกมา
2.ปรากฏการณ์เรือนกระจก
แนวทางป้องกัน
ช่วยกันปลูกต้นไม้เพื่อพิทักษ์โลก
รีไซเคิลแก้ว และ กระป๋องอลูมิเนียม
ช่วยกันประหยัดพลังงานทุกชนิด เช่น พลังงานจากไฟฟ้า พลังงานจากน้ำมันเชื้อเพลิง
สนับสนุนให้ผลิตสินค้าที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม
ปัญหา
ในประเทศในเขตหนาวมีการเพาะปลูกพืชโดยอาศัยการควบคุมอุณหภูมิความร้อนโดยใช้หลักการที่พลังงานความร้อนจากแสงอาทิตย์ส่องผ่านกระจก แต่ความร้อนที่อยู่ภายในเรือนกระจกไม่สามารถสะท้อนกลับออกมาทำให้อุณหภุมิภายในสูงขึ้นเหมาะแก่การเพาะปลูกของพืช จึงมีการเปรียบเทียบปรากฏการณ์ที่อุณหภูมิของโลกสูงขึ้นนี้ว่าภาวะ เรือนกระจก(greenhouse effect)
สาเหตุ
การเผาไม้ทำลายป่า
การเผาไหม้เชื้อเพลิง
การผลิตซีเมนต์
ผลกระทบ
ผลกระทบต่อการเกษตรกรรม
ผลกระทบต่อแหล่งพลังงาน
ผลกระทบต่อสภาพภูมิอากาศ
ผลกระทบต่อแหล่งน้ำ
ผลกระทบต่อระดับน้ำทะเลและที่อยู่อาศัยของมนุษย์
ผลกระทบต่อสุขภาพอนามัยของมนุษย์
3.ปรากฏการณ์เอลนีโญ ลานีญา
สาเหตุ
เกิดการเปลี่ยนแปลงในอุณหภูมิผิวน้ำทะเลของมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันออก โดยอุ่นขึ้นหรือเย็นลงผิดปกติ ซึ่งเรียกว่า เอลนีโญและลานีญาตามลำดับ และความดันบรรยากาศบริเวณมหาสมุทรแปซิฟิกด้านตะวันตกเขตร้อน ซึ่งเรียกว่า ความผันแปรของระบบอากาศในซีกโลกใต้ การเปลี่ยนแปลงดังกล่าวเกิดขึ้นได้สองกรณี: เอลนีโญ ซึ่งเป็นปรากฏการณ์ที่อุณหภูมิมหาสมุทรอุ่นขึ้นผิดปกติ ประกอบกับความดันบรรยากาศสูงบริเวณมหาสมุทรแปซิฟิกด้านตะวันตก ส่วนลานีญา เป็นปรากฏการณ์ที่อุณหภูมิมหาสมุทรเย็นลงผิดปกติ ประกอบกับความดันบรรยากาศต่ำบริเวณมหาสมุทรแปซิฟิกด้านตะวันตก[
ผลกระทบ
เอลนีโญทำให้เกิดฝนตกหนักในตอนเหนือของทวีปอเมริกาใต้และเกิดความแห้งแล้งในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ในทางกลับกันลานีญาทำให้เกิดความแห้งแล้งทางตอนเหนือของทวีปอเมริกาใต้และเกิดฝนตกหนักในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ทั้งเอลนีโญและลานีญาเกิดจากความผกผันของกระแสอากาศโลกบริเวณเส้นศูนย์สูตรเหนือมหาสมุทรแปซิฟิก
4.ภาวะโลกร้อน
สาเหตุ
การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศที่เกิดจากการกระทำของมนุษย์ ที่ทำให้อุณหภูมิเฉลี่ยของโลกเพิ่มสูงขึ้น เราจึงเรียกว่า ภาวะโลกร้อน (Global Warming) กิจกรรมของมนุษย์ที่ทำให้เกิดภาวะโลกร้อน คือ กิจกรรมที่ทำให้ปริมาณก๊าซเรือนกระจกในบรรยากาศเพิ่มมากขึ้น ได้แก่ การเพิ่มปริมาณก๊าซเรือนกระจกโดยตรง เช่น การเผาไหม้เชื้อเพลิง และ การเพิ่มปริมาณก๊าซเรือนกระจกโดยทางอ้อม คือ การตัดไม้ทำลายป่า
ผลกระทบ
โลกจะร้อนขึ้นอันเกิดการเผาไหม้เชื้อเพลิงหรือการตัดไม้ทำลายป่า
แนวทางการแก้ไข
ปลูกต้นไม้ให้มากขึ้นเพื่อเพิ่มออกซิเจน
5.ปรากฏการณ์เรือนกระจก
สาเหตุ
การเผาไหม้เชื้อเพลิง
การผลิตซีเมนต์
การเผาไม้ทำลายป่า
ผลกระทบ
ระดับน้ำทะเลเพิ่มสูงขึ้นเนื่องจากธารน้ำแข็งที่กำลังละลาย และอุณหภูมิทั่วโลกที่กำลังสูงขึ้นจากการขยายตัวทางความร้อนของน้ำในมหาสมุทร
ก๊าซเรือนกระจกที่ถูกปล่อยออกมามหาศาลจากชั้นดินเยือกแข็ง และป่าที่กำลังตาย
มีความเสี่ยงมากขึ้นที่จะเกิดสภาพอากาศรุนแรง เช่น คลื่นความร้อน ความแห้งแล้ง และ น้ำท่วม
แนวทางแก้ไข
1.ลดการใช้พลังงานในบ้านด้วยการปิดทีวี คอมพิวเตอร์ เครื่องเสียง และเครื่องใช้ไฟฟ้าต่างๆ เมื่อไม่ได้ใช้งาน จะช่วยลดคาร์บอนไดออกไซด์ได้นับ 1 พันปอนด์ต่อปี
2.ขับรถยนต์ส่วนตัวให้น้อยลง ด้วยการปั่นจักรยาน ใช้รถโดยสารประจำทาง หรือใช้การเดินแทนเมื่อต้องไปทำกิจกรรมหรือธุระใกล้ๆ บ้าน เพราะการขับรถยนต์น้อยลง หมายถึงการใช้น้ำมันลดลง และลดการปล่อยคาร์บอนไดออกไซด์ด้วย เพราะน้ำมันทุกๆ แกลลอนที่ประหยัดได้ จะลดคาร์บอนไดออกไซด์ได้ 20 ปอนด์
3.เปิดหน้าต่างรับลมแทนเปิดเครื่องปรับอากาศ ลดการปลดปล่อยคาร์บอนไดออกไซด์จากการใช้ไฟฟ้าเพื่อเปิดเครื่องปรับอากาศ
6.ปัญหาหมอกควัน ฝุ่นละอองPM2.5
สาเหตุ
การเผาในที่โล่งแจ้ง เช่น การเผาเศษวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตรในที่ราบและที่ดอน การเผาขยะ การเผาพื้นที่ไร่หมุนเวียนในที่สูงเพื่อเตรียมการเพาะปลูก การเผาป่า เป็นต้น
สภาพภูมิประเทศ เช่น ตัวเมืองเชียงใหม่ที่มีลักษณะเป็นแอ่งกระทะ ฯลฯ
สภาพภูมิอากาศและอุตุนิยมวิทยา และหมอกควันข้ามแดนมาจากประเทศเพื่อนบ้านที่มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นเพราะมีการเผาป่าและเตรียมการเกษตรมากขึ้น ได้แก่ สาธารณรัฐเมียนม่าร์ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ราชอาณาจักรกัมพูชา และสาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม
ผลกระทบ
ฝุ่นละออง PM 2.5 เป็นเจ้าฝุ่นร้ายที่มองไม่เห็นด้วยตาเปล่า ไม่มีกลิ่น ขนาดเล็กจิ๋วมาก สามารถผ่านเข้าไปในร่างกายเราลึกได้ถึงถุงลมปอด บางส่วนสามารถเล็ดรอดผ่านผนังถุงลมเข้าเส้นเลือดฝอยล่องลอยอยู่ในกระแสเลือด และกระจายตัวแทรกซึมไปทั่วร่างกายของเราได้
แนวทางแก้ไข
ลดการใช้ยานพาหนะส่วนตัว ส่งเสริมการใช้ระบบขนส่งสาธารณะ
หลีกเลี่ยงการเผาไหม้ในที่โล่งแจ้ง เผาพื้นที่เพื่อเตรียมการทำเกษตรกรรม เผาขยะ หรือวัสดุเหลือใช้
ควบคุมกระบวนการก่อสร้างให้มีฝุ่นน้อยที่สุด
ออกกำลังกายในที่ร่ม ฝุ่นน้อยๆ และไม่ควรใส่หน้ากากอนามัยเวลาออกกำลังกาย
7.การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
สาเหตุ
เกิดจากความต้องการของมนุษย์ที่จะนำสิ่งแวดล้อมมาใช้ให้เกิดประโยชน์กับตนเอง
การเปลี่ยนแปลงตามกาลเวลา ถ้ายังไม่นำมาใช้ก็เป็นสิ่งแวดล้อม แต่ถ้านำมาใช้ประโยชน์ได้ ก็จะกลายเป็นทรัพยากรธรรมชาติในช่วงเวลานั้นๆ
สภาพภูมิศาสตร์และความห่างไกลของสิ่งแวดล้อม ถ้าอยู่ไกลเกินไปคนอาจไม่นำมาใช้ ก็จะไม่สามารถแปรสภาพเป็นทรัพยากรธรรมชาติได้
ผลกระทบ
ถ้าไม่มีการจัดการทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม ก็อาจจะทำให้ป่าไม้หรือน้ำมันหมดไปก็ได้
แนวทางการแก้ไข
การพัฒนาที่ยั่งยืน เป็นคำที่มีรากฐานมาจากหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง หมายถึง การพัฒนาคนให้มีคุณภาพ การเพิ่มผลผลิต และการใช้หรือจัดการทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่งแวดล้อมอย่างฉลาด รู้จักถนอมในการใช้ เพื่อให้มีไว้ใช้ เพื่อใช้มีอย่างยาวนานจนถึงคนรุ่นหลัง
การใช้ทรัพยากรเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน หมายถึง การนำทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมมาใช้พัฒนาคุณภาพชีวิตของมนุษย์ เพื่อให้มีมาตรฐานคุณภาพชีวิตที่ดี โดยไม่ทำให้ทรัพยากรธรรมชาติหรือสิ่งแวดล้อมนั้นด้วยประสิทธิภาพลง หรือกระทบกระเทือนต่อคนรุ่นหลัง
แนวทางในการปฏิบัติที่จะนำไปสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน
ประชาชนและภาครัฐต้องช่วยกันควบคุมปล่อยของเสียที่สร้างขึ้นให้ออกสู่ธรรมชาติน้อยลง
ประชาชนและภาครัฐต้องรู้จักวิธีการใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างมีประสิทธิภาพ
ประชาชนทุกคนต้องเกิดจิตสำนึกร่วมกัน โดยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคทรัพยากร
ภาครัฐควรวางมาตรการการประจายรายได้ออกไปสู่ภาคประชาชนในทุกกลุ่มทุกอาชีพ
ภาครัฐควรวางมาตรการในการควบคุมอัตราการเพิ่มของจำนวนประชากรเพื่อสร้างความมั่นคงทางเศรษฐกิจ
8.การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
สาเหตุ
ประเทศไทยได้ให้ความสำคัญกับการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมการนำเอาทรัพยากรธรรมชาติมาใช้ประโยชน์
ผลกระทบ
สภาวะสิ่งแวดล้อมและรบบนิเวศโดยรอบดีขึ้น
แนวทางแก้ไข
มีการดำเนินโครงงานอันเนื่องมาจากพระราชดำริปรับปรุงสภาพสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติโดยทรงเน้นด้านการอนุรักษ์และฟื้นฟูสภาพแวดล้อม