Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
พระราชบญญัติ ว่าด้วยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. ๒๕๔๔ (หมวด ๑ …
พระราชบญญัติ
ว่าด้วยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์
พ.ศ. ๒๕๔๔
หมวด ๑
ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์
มาตรา ๗
ห้ามมิให้ปฏิเสธความมีผลผูกพันและการบังคับใช้ทางกฎหมายของข้อความใด
เพียงเพราะเหตุที่ข้อความนั้นอยู่ในรูปของข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์
มาตรา ๘
ภายใต้บังคับบทบัญญัติแห่งมาตรา ๙ ในกรณีที่กฎหมายกําหนดให้การใดต้องทํา
เป็นหนังสือ มีหลักฐานเป็นหนังสือ หรือมีเอกสารมาแสดงถ้าได้มีการจัดทําข้อความขึ้นเป็นข้อมูล
อิเล็กทรอนิกส์ที่สามารถเข้าถึงและนํากลับมาใช้ได้โดยความหมายไม่เปลี่ยนแปลง
มาตรา ๙
ในกรณีที่บุคคลพึงลงลายมือชื่อในหนังสือ ให้ถือว่าข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์นั้น
มีการลงลายมือชื่อแล้ว
มาตรา ๑๐
ในกรณีที่กฎหมายกําหนดให้นําเสนอหรือเก็บรักษาข้อความใดในสภาพที่
เป็นมาแต่เดิมอย่างเอกสารต้นฉบับถ้าได้นําเสนอหรือเก็บรักษาในรูปข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ตาม
หลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้ให้ถือว่าได้มีการนําเสนอหรือเก็บรักษาเป็นเอกสารต้นฉบับตามกฎหมายแล้ว
มาตรา ๑๑
ห้ามมิให้ปฏิเสธการรับฟังข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์เป็นพยานหลักฐานใน
กระบวนการพิจารณาตามกฎหมายทั้งในคดีแพ่งคดีอาญา หรือคดีอื่นใด เพียงเพราะเหตุว่าเป็น
ข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์
มาตรา ๑๒
ภายใต้บังคับบทบัญญัติมาตรา ๑๐ ในกรณีที่กฎหมายกําหนดให้เก็บรักษา
เอกสารหรือข้อความใดถ้าได้เก็บรักษาในรูปข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ตามหลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้ ให้ถือ
ว่าได้มีการเก็บรักษาเอกสารหรือข้อความตามที่กฎหมายต้องการแล้ว
มาตรา ๑๒/๑
1 more item...
มาตรา ๑๓
คําเสนอหรือคําสนองในการทําสัญญาอาจทําเป็นข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ก็ได้และ
ห้ามมิให้ปฏิเสธการมีผลทางกฎหมายของสัญญาเพียงเพราะเหตุที่สัญญานั้นได้ทําคําเสนอหรือคํา
สนองเป็นข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์
มาตรา ๑๔
2 more items...
หมวด ๒
ลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์
มาตรา ๒๖
ข้อมูลสําหรับใช้สร้างลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์นั้นได้เช่ือมโยงไปยังเจ้าของลายมือชื่อ
โดยไม่เชื่อมโยงไปยังบุคคลอื่นภายใต้สภาพที่นํามาใช้
ในขณะสร้างลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์นั้น ข้อมูลสําหรับใช้สร้างลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์
อยู่ภายใต้การควบคุมของเจ้าของลายมือชื่อโดยไม่มีการควบคุมของบุคคลอื่น
มาตรา ๒๗
ใช้ความระมัดระวังตามสมควรเพื่อมิให้มีการใช้ข้อมูลสําหรับใช้สร้างลายมือชื่อ
อิเล็กทรอนิกส์โดยไม่ได้รับอนุญาต
แจ้งให้บุคคลทคาดหมายได ี่ ้โดยมีเหตุอันควรเชื่อว่าจะกระทําการใดโดยขึ้นอยู่กับลายมือ
ชื่ออิเล็กทรอนิกส์หรือให้บริการเกี่ยวกับลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์ทราบโดยมิชักช้า
มาตรา ๒๘
ในกรณีมีการให้บริการออกใบรับรองเพื่อสนับสนุนลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์ให้มี
ผลทางกฎหมายเสมือนหนึ่งลงลายมือชื่อผู้ให้บริการออกใบรับรองต้องดําเนินการ
มาตรา ๒๙
ในการพิจารณาความเชื่อถือได้ของระบบ วิธีการ และบุคลากรตามมาตรา ๒๘
(๖) ให้คํานึงถึงกรณีดังต่อไปน
สถานภาพทางการเงิน บุคลากร และสินทรัพย์ที่มีอย
คุณภาพของระบบฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร
1 more item...
มาตรา ๓๐
๐ คู่กรณีที่เกี่ยวข้องต้องดําเนินการ ดังต่อไปนี้
ดําเนินการตามสมควรในการตรวจสอบความน่าเชื่อถือของลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส
1 more item...
มาตรา ๓๑
ใบรับรองหรือลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์ให้ถือว่ามีผลทางกฎหมายโดยไม่ต้อง
คํานึงถึง
1 more item...
หมวด ๓
ธุรกิจบริการเกี่ยวกับธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์
มาตรา ๓๒
บุคคลย่อมมีสิทธิประกอบธุรกิจบริการเกี่ยวกับธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์
แต่ในกรณีที่จําเป็นเพื่อรักษาความมั่นคงทางการเงินและการพาณิชย์หรือเพื่อประโยชน์ในการ
เสริมสร้างความเชื่อถือและยอมรับในระบบข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์หรือเพื่อป้องกันความเสียหายต่อสาธารณชน ให้มีการตราพระราชกฤษฎีกากําหนดให้การประกอบธุรกิจบริการเกี่ยวกับธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ใดเป็นกิจการที่ต้องแจ้งให้ทราบ ต้องขึ้นทะเบียน หรือต้องได้รับใบอนุญาตก่อนก็ได้
มาตรา ๓๓
นกรณีที่มีพระราชกฤษฎีกากําหนดให้การประกอบธุรกิจบริการเกี่ยวกับ
ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ใดเป็นกิจการที่ต้องแจ้งให้ทราบหรือต้องขึ้นทะเบียน ให้ผู้ที่ประสงค์จะ
ประกอบธุรกิจดังกล่าวต้องแจ้งหรือขึ้นทะเบียนต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ตามที่กําหนดในพระราช
กฤษฎีกาก่อนเริ่มประกอบธุรกิจนั้น
มาตรา ๓๔
ในกรณีที่มีพระราชกฤษฎีกากําหนดให้การประกอบธุรกิจบริการเกี่ยวกับ
ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์กรณีใดเป็นกิจการที่ต้องได้รับใบอนุญาต ให้ผู้ที่ประสงค์จะประกอบธุรกิจ
ดังกล่าวยื่นคําขอรับใบอนุญาตต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ตามที่กําหนดในพระราชกฤษฎีกา
หมวด ๔
ธุรกรรมทางอิเล็กกทรอนิกส์ภาครัฐ
มาตรา ๓๕
คําขอ การอนุญาต การจดทะเบียน คําสั่งทางปกครอง การชําระเงิน การ
ประกาศ หรือการดําเนินการใดๆ ตามกฎหมายกับหน่วยงานของรัฐหรือโดยหน่วยงานของรัฐ ถ้าได้
กระทําในรูปของข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่กําหนดโดยพระราชกฤษฎีกาให้นํา
พระราชบัญญัตินี้มาใช้บังคับและให้ถือว่ามีผล โดยชอบด้วยกฎหมายเช่นเดียวกับการดําเนินการตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่กฎหมายในเรื่องนั้นกําหนด
หมวด ๕
คณะกรรมการธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส
มาตรา ๓๖
ให้มีคณะกรรมการคณะหนึ่ง เรียกว่า “คณะกรรมการธุรกรรมทาง
อิเล็กทรอนิกส์” ประกอบด้วย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารร เป็น
ประธานกรรมการ ปลัดกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเป็นรองประธานกรรมการ
และกรรมการอื่นอีกจํานวนสิบสองคนซึ่งคณะรัฐมนตรีแต่งตั้งจากผู้ทรงคุณวุฒิด้านการเงิน้านการ
พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส
มาตรา ๓๗
ให้คณะกรรมการธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์มีอํานาจหน้าที่ดังต่อไปนี้
เสนอแนะต่อคณะรัฐมนตรีเพื่อวางนโยบายการส่งเสริมและพัฒนาธุรกรรมทาง
อิเล็กทรอนิกส์ตลอดจนการแก้ไขปัญหาและอุปสรรคที่เกี่ยวข้อง
1 more item...
มาตรา ๓๘
กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิมีวาระการดํารงตําแหน่งสามปี
1 more item...
มาตรา ๓๙
2 more items...
หมวด ๖
บทกําหนดโทษ
มาตรา ๔๔
ผู้ใดประกอบธุรกิจบริการเกี่ยวกับธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์โดยไม่แจ้งหรือขึ้นทะเบียนต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ตามที่กําหนดในพระราชกฤษฎีกาตามมาตรา ๓๓ วรรคหนึ่ง หรือโดยฝ่าฝืน คําสั่งห้ามการประกอบธุรกิจของคณะกรรมการตามมาตรา ๓๓ วรรคหก ต้องระวางโทษจําคุกไมเกินหนึ่งปีหรือปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ
มาตรา ๔๕
ผู้ใดประกอบธุรกิจบริการเกี่ยวกับธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์โดยไม่ได้รับใบอนุญาตตามมาตรา ๓๔ ต้องระวางโทษจําคุกไม่เกินสองปีหรือปรับไม่เกินสองแสนบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ
มาตรา ๔๖
1 more item...
“อิเล็กทรอนิกส์” หมายความว่า การประยุกต์ใช้วิธีการทางอิเล็กตรอน ไฟฟ้า คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า หรือวิธีอื่นใดในลักษณะคล้ายกัน และให้หมายความรวมถึงการประยุกต์ใช้วิธีการทางแสง วิธีการทางแม่เหล็ก หรืออุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องกับการประยุกต์ใช้วิธีต่างๆ เช่นว่านั้น
“ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์” หมายความว่า ธุรกรรมที่กระทําขึ้นโดยใช้วิธีการทางิเล็กทรอนิกส์ทั้งหมดหรือแต่บางส่วน
“ข้อความ” หมายความว่า เรื่องราวหรือข้อเท็จจริง ไม่ว่าจะปรากฏในรูปแบบของตัวอักษร ตัวเลข เสียง ภาพ หรือรูปแบบอื่นใดที่สื่อความหมายได้โดยสภาพของสิ่งนั้นเองหรือโดยผ่านวิธีการใดๆ
“ข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์” หมายความว่า ข้อความที่ได้สร้าง ส่ง รับ เก็บรักษา หรือประมวลผลด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ เช่น วิธีการแลกเปลี่ยนข้อมูลทางอิเล็กทรอนิกส์ จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ โทรเลข โทรพิมพ์ หรือโทรสาร
“ลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์” หมายความว่า อักษร อักขระ ตัวเลข เสียงหรือสัญลักษณ์อื่นใดที่สร้างขึ้นให้อยู่ในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ซึ่งนํามาใช้ประกอบกับข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์เพื่อแสดงความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลกับข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อระบุตัวบุคคลผู้เป็นเจ้าของลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์ที่เกี่ยวข้องกับข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์นั้น
“ระบบข้อมูล” หมายความว่า กระบวนการประมวลผลด้วยเครื่องมืออิเล็กทรอนิกส์สําหรับสร้าง ส่ง รับ เก็บรักษา หรือประมวลผลข้อมูลอิเล็กทรอนิกส
“การแลกเปลี่ยนข้อมูลทางอิเล็กทรอนิกส์” หมายความว่า การส่งหรือรับข้อความด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์โดยใช้มาตรฐานที่กําหนดไว้ล่วงหน้า
“ผู้ส่งข้อมูล” หมายความว่า บุคคลซึ่งเป็นผู้ส่งหรือสร้างข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ก่อนจะมีการเก็บรักษาข้อมูลเพื่อส่งไปตามวิธีการที่ผู้นั้นกําหนด โดยบุคคลนั้นอาจจะส่งหรือสร้างข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ด้วยตนเอง หรือมีการส่งหรือสร้างข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ในนามหรือแทนบุคคลนั้นก็ได้ทั้งนี้ไม่รวมถึงบุคคลที่เป็นสื่อกลางสําหรับข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์นั้น
“ผู้รับข้อมูล” หมายความว่า บุคคลซึ่งผู้ส่งข้อมูลประสงค์จะส่งข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ให้และได้รับข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์นั้น ทั้งนี้ไม่รวมถึงบุคคลที่เป็นสื่อกลางสําหรับข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์นั้น
1 more item...