Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้สูงอายุที่มีปัญหาสุขภาพ (Benign prostatic Hyperplasia : BPH…
การพยาบาลผู้สูงอายุที่มีปัญหาสุขภาพ
Benign prostatic Hyperplasia : BPH
คือ..การเพิ่มจำนวนเซลล์ของต่อมลูกหมาก ทำให้ท่อที่ต่อมลูกหมากตีบแคบ เกิดการขับถ่ายผิดปกติ เกิดจากความไม่สมดุลขอลฮอรืโมน testroterone กับ estrogen
ปัจจัยที่มีผล
ดื่มน้ำน้อย ทำให้ปัสสาวะข้น เสี่ยงต่อติดเชื้อ นิ่ว
อ้วนลงพุง เริ่มแรงกดภายในช่องท้อง ขับถ่าย ปสว. บ่อย
ดื้นต่ออินซูลิน เป็นสารที่เร่งการเจริญของต่อมลูกหมาก
ดื่มคาแฟอีน ชา สุรา ระคายเคืองของกระเพาะ ปสว.
ไม่ออกกำลังกาย
สูบบุหรี่ ทำให้กระเเพาะบีบตัวเร็วเกิดไป
ยาที่ออกฤทธิ์กระตุ้นซิมพาเทติกเอลฟา
ท้องผูก ยาขับ ปสว.
Pathophysiology
การเผาผลาญ testroterone ได้แก่ dihydrotestosterone DHT DHT จะจับกับ 5 alpha-reductase type ll กระตุ้นให้เกิดการขยายของเนื้อเยื่อ
ดังนั้นต้องยับยั้ง DHT กับ 5 alpha-reductase type ll :check:
signs
ถ่าย ปสว. ต้องออกแรง ปัสสาวะลำเล็ก พุ่งไม่แรงไม่เป็นลำ ปสว.หยดตอนใกล้จะสุด รู้สึกอยากถ่ายปัสสาวะอีก ถ่ายบ่อย ถ่ายนาน บางครั้ง ปสว.ซึมตลอดเวลา ถ่ายไม่ออก
ภาวะแทรกซ้อน
ติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะ
ปสว. ไม่ออก ไตเสื่อม นิ่วในกระเพาะ ปสว.(bladder calculi) ปสว.เป็นเลือด กระเพาะ ปสว.หนาตัว ไส้เลื่อน(inguinal hernia)หรือริดสีดวง
การส่งเสริมการขับถ่ายของภาวะต่อมลูกหมากโต
ให้ความรู้ : ดูแลสายปสว. สร้างความเชื่อมั่นในการปฏิบัติตัว การสนับสนุน
การเปลี่ยนแผลการดำเนินชีวิต -บันทึกปสว. -ดื่มน้ำที่เหมาะสม -เลี่ยงคาแฟอีน แอกอฮอล์ ดื่มพวกน้ำผลไม้แทน กินอาหารที่เหมาะสม
จัดการด้านพฤติกรรม : ฝึกกระเพาะ ปสว. -ปรับนิสัยการถ่าย -ฝึกการยืดเวลาการขับถ่าย ปสว. -ฝึกหายใจ -หยุดอยู่กับที่เมื่อปวดปสว. -บีบปลายองคชาติ(penile squeeze) :warning: (ห่างกัน 2-10 min) -ถ่าย ปสว.ซ้ำหลังถ่ายเสร็จ -บีบรูดท่อปัสสาวะ -ฝึกกล้าเนื้อพื้นเชิงกราน
การสวนปัสสาวะ
เน้น : :tada: :<3: การให้ความรู้เพื่อเกิดความร่วมมือในการดูแลรักษา ปรับแผนการดำเนินชีวิต จัดพฤติกรรม ดูแลสายสวนเหมาะกับผู้สูงอายุที่ไม่อยากผ่าตัด และไม่สามารถผ่าตัดได้
การรักษา
ยา กรณีมีการอุดตัน -alpha adrenergic blocker ยับยั้งการหดตัวของ กน.เรียบในต่อมลูกหมาก เพิ่มแรงต้านการออกปสว. ได้แก่ prazosin , phenoxybenzamine, terazosin
-antiandrogen and testrosterone blocking agent ลดการโตของต่อมลูกหมาก โดยต้าน 5 alpha reductase type ll ทำให้ DHT ลดลง
การผ่าตัด
TURP ใช้เครื่องมือผ่านท่อปัสสาวะ -การผ่าตัดแบบเปิดหน้าท้อง กรณีมากและนิ่วขนาดใหญ่
กลั้นปัสสาวะไม่อยู่ (Urinary Incontinence)
สาเหตุ
DIAPPERS
D = Delirium
I = infection of urinary tract
A = atrophic vaginitis/urethrits
P = Pharmaceutical(medicine)
P = Psychological
E = Endocrine disorder(DM DI Hypercalcemia)
R = renal insufficiency
S = stool impaction
ชนิด
กลั้นไม่อยู่ชั่วคราว
เกิดจากความเจ็บปวด จิตใจ ยา
เรื้อรัง
stress incontinence จาก การหย่อนตัวของกน.อุ้งเชิงกราน signs :fire: เล็ด มีความดันในช่องท้องขณะไอ จาม :forbidden: บทบาทคนดูแล แนะนำการบริหารกล้ามเนื้ออุ้งเชิงกราน :check:
urge incontinence จาก ความไวของ กน.เรียบผิดปกติ โรคทางระบบประสาท signs :star: กลั้นปสว.ไม่ได้ ปสว.ราด :forbidden: บทบาท ฝึกกระเพาะปสว. :check:
overflow incontinence จาก สส.ความสามารถในการบีบตัว หรือกน.เรียนไม่สัมพันกับการคลายตัวของ กน.หูรูดและมีการอุดตัน signs :pencil2: เล็ด บ่อย ไม่หมด :forbidden: บทบาท Double-voiding techniqur , Crede maneuver :check:
functional incontinence จาก โรคทางระบบประสาท ปัญหาสภาพจิตใจ signs :unlock: ราด แม้อาจไม่พบความผิดปกติในระบบขับถ่าย :forbidden: บทบาท pt ที่มีปัญหาสติปัญญา>>ตั้งนาฬิกาเตือนทุก 2 ชม. ,, จัดสิ่งแวดล้อม แสงสว่างพอ มีราวจับ :check:
mixed(stress+urge) จาก เกิดร่วมกับ stressและ urge incontinence signs :beer_mugs: เล็ดน้อย ราดมาก
ปัจจัยเสี่ยง
ความจุของกระเพาะลดลง การขับน้ำเปลี่ยนแปลง กระเพาะบีบตัวเพิ่มขั้น DM อัมพาต ข้ออักเสบ สูบบุหรี่ ซึมเศร้า ท้องผูกเรื้อรัง
การดูแล
ซักประวัติ
ลักษณะปสว. ความถี่ ปริมาณ ช่วงเวลา ความผิดปกติ เบ่ง ไม่พุ่ง แสบขัด ไม่หมด
การขับถ่าย ท้องผูก เบ่งถ่ายประจำเสี่ยงต่อ stress incontinence :!!: หรือไม่ถ่ายหลายวัน และตามมาด้วย overflow incontinence
ประเภทน้ำดื่ม คาแฟอีน แอลกอฮอล
ยา : ยาที่มีผลต่อการเคลื่อนไหว ต่อการรับรู้
อดีต ประวัติการผ่าตัด สิ่งแวดล้อม
ตรวจร่างกาย
BMI , Cognitive function , Mobility
การตรวจระบบประสาท เน้น motor power, bulbocarvemosus reflex
ตรวจทวารหนัก ตรวจ full bladder
Lab
UA, BUN, Cr, E'lyte, Ca, PVR
ปรับพฤติกรรม :confetti_ball: เน้นลดปัจจัยเสี่ยง ป้องกันภาวะแทรกซ้อน
จัดการพฤติกรรม :silhouettes:
:red_flag: บริหารอุ้งเชิงกราน เก็รงกล้ามเนื้ออุ้งเชิงกราน คลายกลั้นการผายลม ขมิบ ค้างไว้ 5-10 sec ชุดละ 3-5 ครั้ง วันละ 3 ชุด
:red_flag: ฝึกกระเพาะปสว. เพิ่มระยะเวลาการขับถ่าย
:red_flag: ฝึกถ่ายปสว. 2 ครั้ง ถ่ายปสว.ครั้งหนึ่งแล้ว ให้พัก 2-10 min หรือยืนขึ้นดันท้องก่อนแล้วนั่งลงอีกครั้ง
ทางการแพทย์
ยา, ผ่าตัด
จัดการแบบประคับประคอง
ปรับเปลี่่ยนสภาพแวดล้อม, สวมใส่เสื้อผ้าที่ง่ายต่อการถอด, การใส่สายสวน