Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
พระราชบัญญัติ ว่าด้วยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. ๒๕๔๔ (หมวด ๑ …
พระราชบัญญัติ
ว่าด้วยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์
พ.ศ. ๒๕๔๔
หมวด ๑
ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์
มาตรา ๑๐
ข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ได้ใช้วิธีการที่เชื่อถือได้ในการรักษาความถูกต้องของข้อความตั้งแต่ การสร้างข้อความเสร็จสมบูรณ์
มาตรา ๑๑
ห้ามมิให้ปฏิเสธการรับฟังข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์เป็นพยานหลักฐานใน กระบวนการพิจารณาตามกฎหมายทั้งในคดีแพ่ง คดีอาญา หรือคดีอื่นใด เพียงเพราะเหตุว่าเป็น ข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์
มาตรา ๙
ใช้วิธีการที่สามารถระบุตัวเจ้าของลายมือชื่อ และสามารถแสดงได้ว่าเจ้าของลายมือชื่อ รับรองข้อความในข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์นั้นว่าเป็นของตน
วิธีการดังกล่าวเป็นวิธีการที่เชื่อถือได้โดยเหมาะสมกับวัตถุประสงค์ของการสร้างหรือส่ง ข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ โดยคํานึงถึงพฤติการณ์แวดล้อมหรือข้อตกลงของคู่กรณี
มาตรา ๑๒
ข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์นั้นสามารถเข้าถึงและนํากลับมาใช้ได้โดยความหมายไม่ เปลี่ยนแปลง
ได้เก็บรักษาข้อความส่วนที่ระบุถึงแหล่งกําเนิด ต้นทาง และปลายทางของข้อมูล อิเล็กทรอนิกส์ ตลอดจนวันและเวลาที่ส่งหรือได้รับข้อความดังกล่าว ถ้ามี
มาตรา ๘
ภายใต้บังคับบทบัญญัติแห่งมาตรา ๙ ในกรณีที่กฎหมายกําหนดให้การใดต้องทํา เป็นหนังสือ มีหลักฐานเป็นหนังสือ หรือมีเอกสารมาแสดง
มาตรา ๑๓
คําเสนอหรือคําสนองในการทําสัญญาอาจทําเป็นข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ก็ได้ และ ห้ามมิให้ปฏิเสธการมีผลทางกฎหมายของสัญญาเพียงเพราะเหตุที่สัญญา
มาตรา ๗
ห้ามมิให้ปฏิเสธความมีผลผูกพันและการบังคับใช้ทางกฎหมายของข้อความใด เพียงเพราะเหตุที่ข้อความนั้นอยู่ในรูปของข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์
มาตรา ๑๔
ในระหว่างผู้ส่งข้อมูลและผู้รับข้อมูล การแสดงเจตนาหรือคําบอกกล่าวอาจทํา เป็นข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ก็ได้
มาตรา ๑๕
บุคคลใดเป็นผู้ส่งข้อมูลไม่ว่าจะเป็นการส่งโดยวิธีใด ให้ถือว่าข้อมูล อิเล็กทรอนิกส์เป็นของผู้นั้น
มาตรา ๑๖
ผู้รับข้อมูลชอบที่จะถือว่าข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์เป็นของผู้ส่งข้อมูลและชอบที่จะ ดําเนินการไปตามข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์นั้นได้
มาตรา ๑๗
ในระหว่างผู้ส่งข้อมูลและ ผู้รับข้อมูล ผู้รับข้อมูลมีสิทธิถือว่าข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ที่ได้รับนั้นถูกต้องตามเจตนาของผู้ส่งข้อมูล
มาตรา ๑๘
ผู้รับข้อมูลชอบที่จะถือว่าข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ที่ได้รับแต่ละชุดเป็นข้อมูลที่แยก จากกัน และสามารถดําเนินการไปตามข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์แต่ละชุดนั้นได้
มาตรา ๑๙
ในกรณีที่ต้องมีการตอบแจ้งการรับข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ ไม่ว่าผู้ส่งข้อมูลได้ร้อง ขอหรือตกลงกับผู้รับข้อมูลไว้ก่อนหรือขณะที่ส่งข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์หรือปรากฏในข้อมูล อิเล็กทรอนิกส์ :
หมวด ๔
ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ภาครัฐ
มาตรา ๓๕
คําขอ การอนุญาต การจดทะเบียน ถ้าได้ กระทําในรูปของข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ตามหลักเกณฑ์ให้นํา พระราชบัญญัตินี้มาใช้บังคับและให้ถือว่ามีผล
หมวด ๓
ธุรกิจบริการเกี่ยวกับธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์
มาตรา ๓๒
บุคคลย่อมมีสิทธิประกอบธุรกิจบริการเกี่ยวกับธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์เพื่อป้องกันความเสียหายต่อ สาธารณชน ให้มีการตราพระราชกฤษฎีกากําหนดให้การประกอบธุรกิจบริการเกี่ยวกับธุรกรรมทาง อิเล็กทรอนิกส์
มาตรา ๓๓
ในกรณีที่มีพระราชกฤษฎีกากําหนดให้การประกอบธุรกิจบริการเกี่ยวกับ ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ใดเป็นกิจการที่ต้องแจ้งให้ทราบ
มาตรา ๓๔
ในกรณีที่มีพระราชกฤษฎีกากําหนดให้การประกอบธุรกิจบริการเกี่ยวกับ ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์กรณีใดเป็นกิจการที่ต้องได้รับใบอนุญาต
หมวด ๖
บทกําหนดโทษ
มาตรา ๔๔ ผู้ใดประกอบธุรกิจบริการเกี่ยวกับธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์โดยไม่แจ้งหรือขึ้นทะเบียนต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ตามที่กำหนดในพระราชกฤษฎีกาตามมาตรา ๓๓ วรรคหนึ่ง หรือโดยฝ่าฝืน คำสั่งห้ามการประกอบธุรกิจของคณะกรรมการตามมาตรา ๓๓ วรรคหก ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินหนึ่งปี หรือปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
มาตรา ๔๕ ผู้ใดประกอบธุรกิจบริการเกี่ยวกับธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์โดยไม่ได้รับใบอนุญาตตามมาตรา ๓๔ ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินสองปี หรือปรับไม่เกินสองแสนบาท หรือทั้ง
จำทั้งปรับ
มาตรา ๔๖ บรรดาความผิดตามพระราชบัญญัตินี้ที่กระทำโดยนิติบุคคล ผู้จัดการหรือผู้แทนนิติบุคคลหรือผู้ซึ่งมีส่วนร่วมในการดำเนินงานของนิติบุคคล ต้องรับผิดในความผิดนั้นด้วยเว้นแต่พิสูจน์ได้ว่าตนมิได้รู้เห็นหรือมีส่วนร่วมในการกระทำความผิดนั้น
หมวด ๕
คณะกรรมการธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์
มาตรา ๔๐
ในกรณีที่กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิพ้นจากตําแหน่งตามมาตรา ๓๙ ให้ถือว่า คณะกรรมการประกอบด้วยกรรมการเท่าที่เหลืออยู่ และให้ดําเนินการแต่งตั้งกรรมการใหม่แทน ภายในหกสิบวันนับแต่วันที่กรรมการพ้นจากตําแหน่ง
มาตรา ๔๓
ให้จัดตั้งสํานักงานคณะกรรมการธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์เป็นส่วนราชการ ในสํานักงานปลัดกระทรวงทําหน้าที่เป็นหน่วยงาน ธุรการของคณะกรรมการ
มาตรา ๓๗
ให้คณะกรรมการธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ มีอํานาจหน้าที่ดังต่อไปนี้
เสนอแนะต่อคณะรัฐมนตรีเพื่อวางนโยบายการส่งเสริมและพัฒนาธุรกรรมทาง อิเล็กทรอนิกส์ ตลอดจนการแก้ไขปัญหาและอุปสรรคที่เกี่ยวข้อง
เสนอแนะหรือให้คําปรึกษาต่อรัฐมนตรีเพื่อการตราพระราชกฤษฎีกาตาม
มาตรา ๔๑
การประชุมของคณะกรรมการต้องมีกรรมการมาประชุมไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของ จํานวนกรรมการทั้งหมดจึงเป็นองค์ประชุม
มาตรา ๓๙
นอกจากการพ้นจากตําแหน่งตามวาระตามมาตรา ๓๘ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ พ้นจากตําแหน่ง
มาตรา ๔๒
คณะกรรมการมีอํานาจแต่งตั้งคณะอนุกรรมการเพื่อพิจารณาหรือปฏิบัติการ อย่างหนึ่งอย่างใดแทนคณะกรรมการก็ได้
มาตรา ๓๘ - กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิมีวาระการดํารงตําแหน่งสามปี กรรมการซึ่งพ้นจากตําแหน่งอาจได้รับแต่งตั้งอีกได้ แต่ไม่เกินสองวาระติดต่อกัน
มาตรา ๓๖
ผู้ทรงคุณวุฒิคนหนึ่ง ของแต่ละด้านต้องมาจากภาคเอกชน และให้หัวหน้าสํานักงานคณะกรรมการธุรกรรมทาง อิเล็กทรอนิกส์เป็นกรรมการและเลขานุการ
หมวด ๒
ลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์
มาตรา ๓๑
ใบรับรองหรือลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์ให้ถือว่ามีผลทางกฎหมายโดยไม่ต้อง คํานึงถึง
สถานที่ออกใบรับรองหรือสถานที่สร้างหรือใช้ลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์ หรือ
สถานที่ทําการงานของผู้ออกใบรับรองหรือเจ้าของลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์
มาตรา ๒๖
ลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์ที่มีลักษณะดังต่อไปนี้ให้ถือว่าเป็นลายมือชื่อ อิเล็กทรอนิกส์ที่เชื่อถือได้
มาตรา ๒๗
ในกรณีมีการใช้ข้อมูลสําหรับใช้สร้างลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์เพื่อสร้างลายมือ ชื่ออิเล็กทรอนิกส์ที่จะมีผลตามกฎหมาย
มาตรา ๒๘
ในกรณีมีการให้บริการออกใบรับรองเพื่อสนับสนุนลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์ให้มี ผลทางกฎหมายเสมือนหนึ่งลงลายมือชื่อผู้ให้บริการออกใบรับรองต้องดําเนินการ
มาตรา ๒๙
ในการพิจารณาความเชื่อถือได้ของระบบ วิธีการ และบุคลากรตามมาตรา ๒๘ (๖) ให้คํานึงถึงกรณีดังต่อไปนี้
องค์กรที่ให้การรับรองหรือให้บริการออกใบรับรองเกี่ยวกับการปฏิบัติหรือการมีอยู่ของ สิ่งที่กล่าวมาใน (๑) ถึง (๕)