Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การประเมินอภิมาน (Meta-Evaluation) (ขั้นตอนการประเมิน (การเก็บรวบรวมและทบท…
การประเมินอภิมาน (Meta-Evaluation)
ความหมาย
การประเมินงานประเมินโดยการรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับกิจกรรมการประเมิน เพื่ออธิบายให้คุณค่าและตัดสินคุณค่าว่างานประเมินมีความเหมาะสมสอดคล้องกับเกณฑ์และมาตรฐานที่กำหนด
บทบาท
การประเมินอภิมานเชิงความก้าวหน้า (Formative Meta-Evaluation)
เพื่อชี้แนวทางตลอดจนการปรับปรุงการประเมิน
ใช้การประเมินเชิงสร้างสรรค
วางแผนก่อนการปฏิบัติการประเมิน
มีการกำหนดตารางการประเมินและจัดหาทีมการประเมินและงบประมาณการประเมินตลอดจนข้อเสนอแนะต่างๆ
การประเมินอภิมานแบบสรุปรวม (Summative Meta-Evaluation)
เพื่อเปิดเผยจุดแข็งและจุดอ่อนของงานประเมินต่อสาธารณะ
เป็นการแสดงถึงคุณค่ารวมของงานประเมิน
รายงานให้สาธารณะทราบถึงความเป็นมาตรฐานของงานประเมิน
ขั้นตอนการประเมิน
การเก็บรวบรวมและทบทวนข้อมูลที่มีอยู่
การเก็บรวบรวมข้อมูลใหม่ตามความจำเป็น
การวิเคราะห์ผล
การเจรจาต่อรองการทำสัญญาการประเมินอภิมานอย่างเป็นทางการ
การพิจารณาหลักการหรือเกณฑ์ในการประเมินอภิมาน
การตัดสินการประเมินตามมาตรฐานการประเมิน
การกำหนดคำถามการประเมินอภิมาน
จัดทำและส่งรายงาน
การกำหนดผู้ประเมินอภิมานหรือทีมประเมินอภิมาน
การช่วยเหลือผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในการตีความและการนำผลการศึกษาไปใช้ประโยชน์
การตรวจสอบและการพบปะกับผู้มีส่วนได้เสียของการประเมิน
มาตรฐานการประเมิน
ด้านอรรถประโยชน์(Utility Standards)
ความน่าเชื่อถือได้ของนักประเมิน
ทันเวลา มีการสื่อสารและการรายงานที่เหมาะสม
ให้ความสนใจต่อผลลัพธ์และอิทธิพลรอบข้าง
กระบวนการและผลผลิตที่มีความหมาย
สารสนเทศที่ตรงประเด็น
ความสนใจต่อกลุ่มผู้มีส่วนได้เสีย
วัตถุประสงค์การเจรจาตกลง
คุณค่าที่มีความชัดเจน
ด้านความเป็นไปได้(Feasibility Standards)
กระบวนการปฏิบัติ
ความอยู่รอดทางบริบท
การบริหารโครงการ
ใช้ทรัพยากร
ด้้านความเหมาะสมชอบธรรม (Propriety Standards)
ความชัดเจนและยุติธรรม
ความโปร่งใสและเปิดเผย
สิทธิทางมนุษยชนและความเคารพนับถือ
ความขัดแย้งด้านผลประโยชน์
การทำความตกลงอย่างเป็นทางการ
ความรับผิดชอบทางการเงิน
มุ่งเน้นความสำคัญด้านการตอบสนองและความครอบคลุม
ด้านความถูกต้อง (Accuracy Standards)
สารสนเทศที่มีความเที่ยง
โปรแกรมที่มีความชัดเจนและการอธิบายบริบทสภาพแวดล้อม
สารสนเทศที่มีความตรง
การจัดการสารสนเทศ
การสรุปและการตัดสินที่มีเหตุผลเหมาะสมถูกต้อง
การออกแบบและการวิเคราะห์ที่น่าเชื่อถือ
การให้เหตุผลทางการประเมินที่มีความชัดเจน
การสื่อสารและการรายงาน
ด้านความรับผิดชอบการประเมิน (Evaluation Accountability Standards)
ข้อมูลหลักฐานการประเมิน
การประเมินอภิมานภายใน
การประเมินอภิมานภายนอก
แนวทางในการดำเนินการประเมินอภิมาน
ที่พิจารณาการประเมินโครงการใดโครงการหนึ่ง
ที่เป็นการรวบรวมโครงการหลายๆ โครงการที่มีจุดมุ่งหมายของการประเมินหรือลักษณะของการประเมินที่คล้ายคลึงกัน
รูปแบบ
การประเมินอภิมานเชิงรุก (Pro-active Meta-Evaluation)
การประเมินเชิงรุกของเป้าหมายการประเมิน (Pro-active Assessment of Evaluation Goals)
การประเมินเชิงรุกของการออกแบบการประเมิน (Pro-active Assessment of Evaluation Design)
การประเมินเชิงรุกของการดำเนินการของการออกแบบที่เลือก (Pro-active Assessment of the Implementation of a Chosen Design)
การประเมินเชิงรุกที่เพิ่มคุณภาพและการใช้ผลการประเมิน (Pro-active Assessment that Enhance the Quality and use of Evaluation Results)
การประเมินผลสะท้อนของการประเมินอภิมาน (Retroactive Meta Evaluation)
การประเมินย้อนหลังของการศึกษางานประเมิน (Overall Retroactive Assessment of the Merit of a Total Evaluation Effort)
นายอนุชิต พันธ์กง รหัสนักศึกษา 61421247211