Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การบำบัดด้านหัตถการ (หัตถการต่างๆ (เอาเบ็ดออก (ยาที่ให้ATB เช่น ให้ยาATB…
การบำบัดด้านหัตถการ
หัตถการต่างๆ
เอาเบ็ดออก
ยาที่ให้ATB เช่น ให้ยาATB oral 5-10 วัน เช่น amoxicillin ,erythromycim ,cephalexin, cloxacillin
-
การเจาะเล็บ
วัตถุประสงค์บรรเทาอาการเจ็บปวด โดยไม่ต้องถอดเล็บ ได้แก่ การจี้ด้วยไฟฟ้า Cautery ,การใช้เข็มเจาะไปที่เล็บและการใช้คลิปหนีบกระดาษเผาให้ร้อนระบายเลือดออก
การผ่าฝี
มีอาการปวด บวม แดง ร้อน และกดแล้วยุบทดสอบโดยใช้เข็มเบอร์ 18 เจาะดูว่ามีหนองอยู่หรือไม่วัตถุประสงค์ เพื่อระบายหนองซึ่งเป็นการรักษาหลักสำหรับการติดเชื่อ
ฉีดยาชาแบบ field block ทำแผลอย่างน้อย 2 ครั้ง/วันอย่าให้ก๊อซแห้ง ยาATB oral 5-10 วัน เช่น amoxicillin ,erythromycim ,cephalexin
-
ยาชา
การฉีดยาชา
ยาชาเข้าใต้ชั้นผิวหนัง (intradermal) เพื่อทำให้เกิดรอยนูน (wheal)ใช้เข็ม 25 G ประมาณ 0.5 ml. ก่อนฉีดยาชาทุกครั้งต้องดูดดูว่าปลายเข็มแทงเข้าหลอดเลือด หรือไม่ แล้วค่อยๆ ปักเข็มเข้าไปในเนื้อเยื่อใต้ผิวหนัง เพื่อดันยาและควรฉีดยาชาเพียง 1-2 ml รอดูสัก 1-2 นาที ถ้าไม่มีปฏิกิริยาแพ้ยาก็ฉีดต่อจนครบปริมาณที่ต้องการ
ประเภทของการฉีดยาชา
Local infiltration
1.Direct Infiltration การฉีดเฉพาะที่ ใช้ฉีดโดยตรง ในบริเวณที่ต้องการผ่าตัดหรือบริเวณที่ปวด เช่น บริเวณกระดูกหัก แต่ไม่ควรใช้บริเวณที่อักเสบหรือมีหนอง ทำให้ยาชาไม่ออกฤทธิ์ และยังอาจทำให้เชื้อโรคแพร่กระจายไปในบริเวณที่ฉีดด้วย
2.Field block คือการใช้ฉีดรอบๆบริเวณที่ต้องการผ่าตัด วิธีนี้ใช้ได้เฉพาะในบริเวณหนังศีรษะ และหน้าท้อง ซึ่งเส้นประสาทรับความรู้สึกค่อนข้างตื้นมาก นิยมใช้ในการฝ่าฝีโดยจะแทงเข็มบริเวณผิวหนังที่สะอาดไม่มีการติดเชื้อ ให้ครอบคลุมทั้งสี่ด้าน
Digital nerve Block (No adrenaline)
1.Axial blockจะแทงเข็มบริเวณด้านข้างตั้งฉากกับนิ้ว mid axial lineกึ่งกลางของ proximal phalanx จนชนกับกระดูกแล้วสลับไปฉีดอีกข้างหนึ่ง ฉีด 1-1.5 ml
2.Web space Block จะแทงเข็มบริเวณ web space ด้ารข้างของนิ้วทั้ง2 ข้างโดยคว่ำมือลง ผู้ฉีดจะถือเข็มตั้งฉากกับนิ้วแล้วฉีด Sc.แล้วค่อยฉีดไปทางด้าน palmar
ชนิดยาชา
1.pontocain HCl ใช้ทาบนเยื่อเมือก เช่น จมูก ปาก คอ ตา
2.Procain HCl injection (Novocain) ออกฤทธิ์เร็ว1/2% ,1%,2%มีชนิดผสม adrenaline เพื่อห้ามเลือด จะยับยั้งการเคลื่อนไหวทั้งหมด
3.Lidocaine HCl injection( xylocain ) ออกฤทธิ์ต่อระบบประสาทความรู้สึกมากกว่าประสาทสั่งการเคลื่อนไหวโดยฉีด SC หรือ IM มีชนิดผสม adrenaline
ชนิดของบาดแผล
แบ่งตามทางนิติวิทยาศาสตร์
1.บาดแผลถลอก (Abrasion)
2.บาดแผลฟกช้ำ (Contusion of bruise)
3.บาดแผลถูกแทง (Stab wound) /(penetrating wound)
4.บาดแผลฉีกขาดขอบเรียบ (Cut or incised wound)
5.บาดแผลฉีกขาดขอบไม่เรียบ (Lacerated wound)
6.บาดแผลเกิดจากกระสุนปืน (Gunshot wound)
แบ่งตามการถูกทำลายของเนื้อเยื่อ
1.แผลปิด (Closed wounds) มักเกิดจากของไม่มีคม หรือเกิดจากการกระแทกที่ไม่รุนแรง ทำให้เกิดรอยฟกช้ำ ผิวหนังไม่ฉีกขาด แต่เนื้อเยื่อหลอดเลือดใต้ผิวหนังแตก ทำให้เกิดห้อเลือด (Hematoma)
2.แผลเปิด (Open wounds) มีการเปิดของบาดแผลมาจากหลายสาเหตุ
การเย็บแผล
วัสดุอุปกรณ์ในการเย็บ
วัสดุใช้เย็บ
1.ชนิดที่ละลายไปเองได้
-เอ็นธรรมดา เรียกว่า Plain cut gut ละลายเร็ว5-10วัน ระคายเคืองต่อเนื้อเยื่อ
-เอ็นชุบน้ำยา เรียกว่า chromic cut gut ( vicryl)ระลายช้า 10-20 วัน อักเสบน้อยกว่า เอ็นสังเคราะห์เรียกว่า Dexon
2.ชนิดที่ไม่สลายไปเอง
-ด้าย ไหม ใยสังเคราะห์สังเคราะห์ polyne nylon ethilon และลวด
เช่นแผลบริเวณ ใบหน้า ศีรษะ ลำตัว แขนขา ฝ่ามือหลังมือ ใช้ nylon ถ้าแผลที่ปาก ใช้chromic
เข็มเย็บ
1.round or taper ใช้ในเนื้อเยื่อที่บางเกิด scar ได้น้อย
2.cutting edge ใช้ในเนื้อเยื่อที่หนา
3.reverse cutting edge
-Traumatic ต้องมีการ insert ไหม เข้าตัวเข็ม
-atraumatic needle เข็มกับไหม ยึดติดเป็นส่วนเดียวกัน
ลักษณะการเย็บ
-
-
1.Horizontal mattress suture technique=จะเย็บเนื้อเยื่อที่ฉีกขาด เช่นเย็บต่อเส้นเอ็น
2.Vertical mattress suture technique=มักใช้กับแผลที่ย่น
3.Blanket lock stitch=ใช้เย็บต่ออวัยวะที่มีเลือดมาก (C)
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-