Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
2.วางแผนการพยาบาลกรณี ขณะทำการรักษาด้วยกระแสไฟฟ้า (การพยาบาลขณะทำ Modified…
2.วางแผนการพยาบาลกรณี ขณะทำการรักษาด้วยกระแสไฟฟ้า
การพยาบาลขณะทำ Unmodified Electroconvulsive Therapy
1.กล่าวทักทายผู้ป่วยด้วยท่าทางที่เป็นมิตรและแนะนำให้ผู้ป่วยรู้จักทีมที่ทำการรักษาว่าแต่ละคนมีบทบาททำอะไรอย่างสั้นๆ
2.พยาบาลจัดท่าให้ผู้ป่วยนอนราบ ไม่หนุนหมอน สอดหมอนเล็ก ๆ บริเวณบั้นเอวและคอ
3.วางแผ่น Electrode บนขมับทั้ง 2 ข้าง โดยทาครีมนำสื่อไฟฟ้า (Electrojelly) บางระหว่างแผ่น Electrode กับผิวหนังเพื่อลดแรงต่อต้านกระแสไฟฟ้าของผวิหนัง แล้วใช้สายยางรัดศีรษะและรัด Electrode ให้อยุ่ในตำแหน่งที่กำหนด
4.ต่อแผ่น Electrode เข้าเครื่อง ก่อนที่จะกดเครื่องเพื่อปล่อยกระแสไฟฟ้า
5.พยาบาลใส่แผน่ ยางในปากของผู้ป่วย เพื่อป้องกันการกัดลิ้นในระหว่างชัก ให้ผู้ป่วยกัดไว้ให้แน่น
6.พยาบาลใช้มือข้างที่ถนัด ยึดขากรรไกร โดยให้นิ้วหัวแม้มืออยู่ที่ขากรรไกรบนอีก 4 นิ้ว ประคองขากรรไกรล่างให้อยู่กับที่หงายคอผู้ป่วยขึ้น ใช้มือข้างที่ถนัดน้อยกว่าประคองต้นคอของผู้ป่วยไว้ที่ท้ายทอย เพื่อป้องกันกระดูกเคลื่อน
7.ให้ผู้ช่วยจับประมาณ 4-5 คน จับตามตำแหน่งที่กำหนด ดังนี้
-คนที่ 2 จับไหล่และแขนซ้ายแนบลำตัว
-คนที่ 3 จับเหนือเข่าขวา และขาขวา
-คนที่ 1 จับไหล่และแขนขวาแนบลำตัว
-คนที่ 4 จับเหนือเข่าซ้าย และขาซ้าย
8.เมื่อมีกระแสไฟฟ้าผ่านสมอง จะเกิดลักษณะการชักซึ่งมีระยะต่าง ๆ ตามขั้นตอน
-ระยะที่ 1 Unconscious ผู้ป่วยจะหมดสติประมาณ 1-2 นาที
-ระยะที่ 2 Tonic Stage ผู้ป่วยจะชักเกร็งประมาณ 10-15 นาที
-ระยะที่ 3 Clonic Stage ผู้ป่วยจะชักกระตุกประมาณ 30-40 นาที
-ระยะที่ 4 Sleep Stage ผู้ป่วยจะหลับประมาณ 5 นาที
-ระยะที่ 5 Confused Stage ผู้ป่วยจะตื่นมางงๆ ประมาณ 30 นาที
การพยาบาลขณะทำ Modified Electroconvulsive Therapy
ใส่ Bite Block/Oral Airway เพื่อให้ผู้ป่วย มีทางเดินหายใจที่สะดวกในขณะชักควรประคองครางของผู้ป่วยให้คงที่ระวังไม่ให้ขากรรไกรเคลื่อนไหว เพื่อป้องกันหรือลดแรงกดดันในขณะชัก เพราะอาจจะทำให้ฟันหักหรือลิ้นขาดได้
นำแผ่น Electrode ทาครีมนำสื่อไฟฟ้า แล้ววางบริเวณขมับ
วิสัญญีฉีดยาเข้าเส้น เช่น Atropine หรือ Glycopyrrolate เพื่อลด Secretion และป้องกัน Bradycardia หลังจากนั้นให้ Thiopenthal(Pentothal) เข้าทางหลอดเลือดดำเพื่อให้ผู้ป่วยหลับและให้ยาคลายกล้ามเนื้อ เช่น Succinylcholine เพื่อป้องกันการหดตัวของกล้ามเนื้อรุนแรง ในระหว่างที่ผู้ป่วยชัก ให้ออกซิเจนตลอดเวลาในระหว่างทำการรักษาและหลังจากทำการรักษาด้วย ECT จนกระทั่งการหายใจกลับคืนมา
ให้ผู้ช่วย 2 คน จะประคองไหล่และข้อมือผู้ป่วย ข้างละ 1 คนและผู้ช่วยอีก 2 คน
จัดท่าผู้ป่วยให้นอนหงายราบบนเตียง ตรวจสอบความดันโลหิต ชีพจรการหายใจ
กล่าวทักทายผู้ป่วยด้วยท่าทีที่เป็นมิตร และแนะนำให้ผู้ป่วยรู้จักทีมที่ทำการรักษา ว่าแต่ละคนมีบทบาททำอะไรอย่างสั้นๆ
7.เมื่อกระแสไฟฟ้าผ่านเข้าไปในสมองของผู้ป่วยจะมีอาการชัก ให้สังเกตการณ์ชัก
8.ขณะชักต้องให้ Ventilation เพิ่มขึ้น เมื่อผู้ป่วยหยุดชักต้องให้ออกซิเจนต่อไปจนกว่าจะหายใจได้เอง หากหยุดหายใจต้องช่วยผายปอดและกระตุ้นการหายใจ
9.ถ้ามีเสมหะต้องรีบดูดเสมหะทั้งในปากและในจมูกให้หมดแล้วให้นอนตะแคง
10.ตรวจสอบว่ามีฟันหัก หรือกัดลิ้นในบริเวณช่องปากหรือไม่
11.วัดชีพจรตลอดเวลาตั้งแต่เริ่มให้การรักษาจนรู้สึกตัว
12.ป้องกันการตกเตียงจากอาการมึนงง สับสน
13.ถ้ามีอาการผิดปกติต่างๆให้รายงานแพทย์
การพยาบาลด้านจิตใจ
1.พยาบาลอยู่ข้างๆคอยให้กำลังใจ พูดคุยกับผู้ป่วยตลอดระยะเวลาขณะที่ทำการรักษาด้วยกระแสไฟฟ้า
การพยาบาลด้านร่างกาย
การพยาบาลด้านจิตวิญญาณ
1.อนุญาตให้ผู้ป่วยสามารถนำสิ่งที่ยึดเหนี่ยวจิตใจ และไม่ขัดต่อการรักษา เช่น สายสิญจน์ เป็นต้น
2.ทำจิตใจให้สงบ กำหนดลมหายใจเข้าออก
การพยาบาลด้านสังคม
1.จิตเเพทย์ พยาบาล เข้าร่วมขณะทำการรักษาด้วยกระแสไฟฟ้าทุกครั้ง ไม่ปล่อยให้ผู้ป่วยอยู่คนเดียวตามลำพัง
2.จัดสิ่งแวดล้อมให้สงบ ไม่มีเสียงดังรบกวน ไม่มีสิ่งกระตุ้นทางจิตใจ