Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
อุปกรณ์สำหรับระบบเครือข่าย บทที่6 (แก้) (2แผงวรจรเชื่อมต่อเครือข่าย(Netwo…
อุปกรณ์สำหรับระบบเครือข่าย บทที่6
(แก้)
1.โมเด็ม (Modem)
โมเด็มเป็นอุปกรณ์ที่ทำหน้าที่แปลงสัญญาณดิจิตอลที่ส่งออกมาจากเครื่องคอมพิวเตอร์ให้กลายเป็นสัญญาณอนาล็อก เพื่อให้สามารถส่งผ่านสื่อกลางไปได้
1.1ขั้นตอนการติดต่อระหว่างโมเด็มผู้ส่งและโมเด็มของผู้รับ
หลักการทำงานของโมเด็ม ของผู้ส่งทำการติดต่อกับโมเด็มของผู้รับแล้ว ยังไม่สามารถรับ/ส่งข้อมูลได้ทันที
-โมเด็มของผู้ส่งทำหารทดสอบภาพการสื่อสารว่าสามารถรับ/ส่งข้อมูลได้เพียงใด
-ทดสอบความเพี้ยนของสัญญาณ
-โมเด็มของผู้ส่งทำการตกลงกับโมเด็มของผู้รับว่าจะใช้อัตราความเร็วในการส่งเท่าไหร่ กำหนดวิธีการผสมสัญญาณ
1.2 การแบ่งประเภทของโมเด็มในการส่งข้อมูลตามอัตรความเร็วในการส่งข้อมูล
1.2.1โมเด็มความเร็วต่ำ
เป็นโมเด็มที่มีอัตราความเร็วในการส่งข้อมูล 300 บิตต่อวินาที
1.2.2โมเด็มความเร็วปานกลาง
เป็นโมเด็มที่มีอัตราความเร็วในการส่งข้อมูล 9,600 - 14,000 บิตต่อวินาที
1.2.3โมเด็มความเร็วสูง
เป็นโมเด็็มที่มีอัตราความเร็วในการส่งข้อมูล 19,000-28,800 บิตต่อวินาที
1.2.4โมเด็มความเร็วสูงพิเศษ
เป็มโมเด็มที่มีอัตราเร็วในการส่งข้อมูล 56,000 บิตต่อวินาที และปัจจุบันยังไม่มีการพัฒนาโมเด็มที่มีอัตราความเร็วในการส่งข้อมูลที่สูงกว่านี้
1.3 การแบ่งประเภทของโมเด็มตามลักษณะการติดตั้ง
1.3.1โมเด็มแบบติดตั้งภายใน (Internal Modem)
โมเด็มแบบติดตั้งภายในเครื่องคอมพิวเตอร์ มีลักษณะเสียบเข้าคอมพิวเตอร์โดยตรง
1.3.2โมเด็มแบบติดตั้งภายนอก (External Modem)
โมเด็มแบบติดตั้งนอกมีลักษณะเป็นกล่อง เชื่อมต่อกับเครื่องคอมพิวเตอร์โดยผ่านทางพอร์ต RS-232 (Series Port) หรือผ่านทางกล่อง USB Port
1.3.3 โมเด็มแบบ PCMCIA และ Cellular Modem
เป็มโมเด็มที่มีขนาดเล็ก ขนาดเท่ากับบัตรเคดิต ถูกออกแบบมาเพื่อใช้งานกับคอมพิวเตอร์และโน๊ตบุ๊คโฌดยเฉพาะ
2แผงวรจรเชื่อมต่อเครือข่าย(Network Interface Card:NIC)
เป็นแผงวงจรที่ใช้สำหรับการติดต่อกับเครือข่ายเรียกว่า "การ์ดแลน"
-ติดตั้งในตัว Mainboard
-ติดตั้งโดยการเสียบด้วยช่อง ISA
-ติดตั้งโดยการเสียบด้วยช่อง PCI
อัตราความเร็วในการใช้งานแผงวงจรเชื่อมต่อเครือข่ายมีหลายระดับ
-1,000 Mbps
-100 Mbps
-10 Mbps
-10/100 Mbps
การใช้งานแผงวงจรในเครือข่าย
-การเชื่อมต่อเข้สในระบบเครือข่ายแบบไร้สาย ซึ่งงต้องใช้คู่กับอุปกณ์ที่ใช้รับ/ส่ง สัญญาณแบบไร้สาย เรียกว่า Access Poinnt
-การเชื่อมต่อเข้าในระบบเครือข่ายแบบไร้สายโดยการใช้สายสื่อสารประเภทใดประเภทหนึ่ง เช่น สาย UTP Cat 5
หน้าที่ของแผงวงจรเชื่อมต่อเครือข่าย
-ตรวจสอบการชนของข้อมูล
-สร้างชุดขแงข้อมูล
-ตรวจสอบที่มาของข้อมูล
3ฮับ(Hub)
เป็นอุปกรณ์ที่ทำหน้าที่รวมสัญญาณ หรือเป็นจุดเชื่อมต่อเครื่องคอมพิวเตอร์เข้าในระบบเครือข่าย
ฮับที่มีพอร์ตแบบ USB
เป็นฮับขนาดเล็ก มีจำนวนพอร์ตไม่มากนัก นิยมใช้เพื่อการแชร์อุปกรณ์เล็กๆ
ฮับไร้สาย
เป็นฮับที่เพิ่งเริ่มมีการใช้งานในปัจจุบัน แต่ยังไม่แพร่หลาย
ฮับที่มีพอร์ตแบบ RJ-45
เป็นฮับที่ได้รับความนิยมนำมาใช้งานสูงงสุดในปัจจุบัน
หลักการพิจรณาเลือกใช้งานฮับ
-อัตราความเร็วในการส่งข้อมูล
อัตราความเร็วในการส่งข้อมูลเลือกใช้งานฮับจะต้องคำนึงถึงอุปกรณ์แผงวงจรเครือข่ายด้วย
-จำนวนพอร์ต
เลือกจำนวนพอร์ตขของฮับนี้ขึ้นอยู่กับขนาดของระบบเครือข่ายที่ใช้งานในปัจจุบัน และการนวางแผงขยสยในอนาคต
4สวิตชิ่งฮับ(Switching Hub)
เป็นอุปกรณ์ที่มีลักษณะการใช้งานคล้ายกับฮับ คือทำหน้าที่รวมสัญญาณหรือเป็นจุดเชื่อมต่อเครื่องคอมพิวเตอร์เข้าในระบบเครือข่าย ต่างกันที่ ฮับจำทำงานในการส่งข้อมูลโดยแพร่กระจายไปยังทุกโหนดระบบเครือข่าย โดยไม่คำนึงว่าข้อมูลนั้นมีการระบุรับหรรือไม่
5.รีพีตเตอร์(Repeater)
รีพีตเตอร์เป็นอุปกรณ์ที่ทำหน้าที่ทบทวนสัญญาณื เพื่อให้สามารถส่งข้อมูลในระยะไกลได้ นำมาใช้งานกรณีที่เครือข่ายนั้นต้องการต่อเครื่องคอมพิวเตอร์ในระยะทางไกล
6.เราเตอร์(Router)
เป็นอุปกรณ์ที่ใช้ในการเชื่อมต่อระหว่างระบบเครือข่ายที่ใช้โพรโตคอลต่างกัน และสามารถทำการกรอง (Filter) เลือกเฉพาะชนิดดของข้อมูลที่ระบุไว้ว่าให้ผ่านไปในเครือข่ายได้ ทำให้ลดการจรคาจรในการส่งข้อมูลและการเพิ่มระดับความปลอดภัยของระะบบเครือข่าย
หลักเกณฑ์การพิจราณาการเลือกใช้งานเราเตอร์
-มีการเชื่อมโยงระหว่างระบบเครือข่ายต่างๆภายในองค์กร
-มีการเชื่อมโยงระหว่างระบบเครือข่ายขององค์กรณ์ต่างๆหรืือมีการเชื่อมโยงกับระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
ปัจจุบันนี้เกืือบทุกองค์กรมีการเชื่อมต่อระบบเครือข่ายภาบในองค์กรเข้ากับระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ซึ่งในการเชื่อมต่อเครือข่ายภายในองค์กรเข้ากับระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตจำเป็นต้องใช้อุปกรณ์เราเตอร์
7.บริดจ์ (Bridge)
เป็นอุปกรณ์ที่ใช้ในการเชื่อมต่อระบบเครือข่ายย่อยๆเข้าด้วยกัน ทำให้สามารรถขยายขนาดของเครือข่ายออกไปได้เรื่อยๆ โดยที่ปรระสิทธิภาพของระบบเครืือข่ายไม่ลดลงมากนัก เพราะการสื่อสารภายในเครื่องย่อยไม่ถูกส่งผ่านบริดจ์
8.เกตเวย์ (Gateway)
เป็นอุปกร์สำหรับระบบเครือข่ายที่มีความสามารถสูงสุด ทำหน้าที่ในการเชื่อมต่อระหว่างระบบเครืือข่ายที่ต่างกัน สามารถแปรงข้อมููลระหว่างระะบบเครือข่ายที่ต่างกันใฟ้ติดต่อสื่อสารกันได้ เช่น การเชื่อมโยงระะหว่างระบบเครือข่ายแลน กับระบบเมนเฟรม
เกตเวย์ส่วนมากเป็นซอร์ฟแวร์ ที่ติดตั้งในเครื่องคอมพิวเตอร์ืเครื่องใดเครื่องหนึ่ง ดังนั้นเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ติดตั้งซอร์ฟแวร์นี้จึงมีสถานะเป็นเกตเวย์ นิยมใช้ในการเชื่อมต่อ Workstation เข้าสู่เครื่องคอมพิวเตอร์หลัก (Host Computer) เพื่อให้คอมพิวเตอร์์ Work station oั้นสามารถติดต่อกับเครื่องคอมพิวเตอร์หลักโดยไม่ต้องกังวลถึงความแตกต่างกันออกไป