Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
นโยบาย กฏหมายที่เกี่ยวข้องกับแผนพัฒนาผู้สูงอายุ และบทบาทของผู้ดูแล…
นโยบาย กฏหมายที่เกี่ยวข้องกับแผนพัฒนาผู้สูงอายุ และบทบาทของผู้ดูแล ครอบครัวและสังคมในการดูแลผู้สูงอายุ
1. นโยบาย กฏหมายที่เกี่ยวข้องกับแผนพัฒนาผู้สูงอายุ
ปฏิญญาผู้สูงอายุ ประกาศใช้ 23 มีนาคม 2542
ผู้สูงอายุได้รับปัจจัยพื้นฐานในการดำรงชีวตอย่างมีคุณค่า
ผู้สูงอายุควรได้อยู่กับครอบครัวโดยได้รับความรัก
ผู้สูงอายุควรได้รับโอกาสในการศึกษาเรียนรู้
ผู้สูงอายุควรถ่ายทอดประสบการณ์ให้สังคมในโอกาสที่เหมาะสม
ผู้สูงอายุควรได้เรียนรู้ในการดูแลสุขภาพอนามัยของตนเอง
ผู้สูงอายุส่วนใหญ่พึ่งพาตนเองได้ และช่วยเหลือสังคมและชุมชนได้
รัฐร่วมกับเอกชนและประชาชน ส่งเสริมประสานงาน
รัฐร่วมกับเอกชนและประชาชนเพื่อเป็นหลักประกัน คุ้มครองสวัสดิการ
รัฐร่วมกับเอกชนและประชาชน รณรงค์ปลูกฝังค่านิยม
แผนยุทธศาสตร์ 5 หมวด ประกาศใช้เมื่อปี 2545
ยุทธศาสตร์ 1
ด้านการเตรียมความพร้อมของประชากรเพื่อวัยสูงอายุที่มีคุณภาพ
ยุทธศาสตร์ 2
ด้านการส่งเสริมผู้สูงอายุ
ยุทธศาสตร์ 3
ด้านระบบคุ้มครองทางสังคมสำหรับผู้สูงอายุ
ยุทธศาสตร์ 4
ด้านการบริหารจัดการเพื่อพัฒนางานด้านผู้สูงอายุระดับชาติ และการพัฒนาบุคลากรด้านผู้สูงอายุ
ยุทธศาสตร์ 5
ด้านการประมวลและพัฒนาองค์ความรู้ด้านผู้สูงอายและติดตามประเมินผลการดำเนินงานตามแผนผู้สูงอายุแห่งชาติ
พระราชบัญญัติผู้สูงอายุ ประกาศใช้เมื่อปี 2546
มี 9 ด้าน ที่เด่นๆ คือ
การช่วยเหลือผู้สูงอายุที่ประสบปัญหาครอบครัว เป็นเงิน 500 บาท และไม่เกิน 2000 บาทไม่เกิน 3 ครั้งต่อคนต่อปี
ช่วยเหลือเงินเบี้ยยังชีพ
อายุ 60-69 จะได้รับเดือนละ 600บาท
อายุ 70-79 จะได้รับเดือนละ 700 บาท
อายุ 80-89 จะได้รับเดือนละ 900 บาท
อายุ 90 ขึ้นไป จะได้รับเดือนละ 1000บาท
เงินสงเคราะห์จัดการศพ : ช่วยเหลือรายละ 2000 บาท
ด้านการลดหย่นภาษี จำนวน 30000 บาท ต่อผู้สูงอายุ 1 คน
2. ระบบบริการสุขภาพและสังคมสำหรับผู้สูงอายุ
การดูแลผู้สูงอายุที่บ้าน (Home Care)
การที่ผู้สูงอายุได้อยู่กับครอบครัว อยู่ห้อมล้อมด้วยบุตรหลาน ญาติ และเพื่อนบ้านที่คุ้นเคยและได้ดูแลซึ่งกันและกัน
การดูแลผู้สูงอายุโดยสถาบัน(Institutional Care)
การดูแลผู้สูงอายุในรูปแบบต่างๆ เช่น สถานสงเคราะห์คนชรา ศูนย์พัฒนาการจัดสวัสดิการผู้สูงอายุ ศูนย์บริการทางสังคมสำหรับผู้สูงอายุ สถานบริการดูแลผู้สูงอายุของภาคเอกชน และองค์กรสาธารณประโยนช์
การดูแลผู้สูงอายุโดยชุมชน(Community Care)
การจัดกิจกรรมในรูปแบบ "ชุมชนช่วยชุมชน" เพื่อสร้างความตระหนักและพัฒนาศักยภาพของบุคคลในชุมชนในการดูแลผู้สูงอายุ
การดูแลผู้สูงอายระยะยาว(Long-Term Care)
ประเทศไทยเข้าสูสังคมผู้สูงอายุอย่างรวดเร็ว การจัดบริการสุขภาพและสังคมจึงต้องดูแลตั้งแต่ผู้สูงอายุช่วยเหลือตนเองได้จนผู้สูงอายุไม่สามารถช่วยเหลือตนเองได้
3. บทบาทผู้ดูแล ครอบครัวในการดูแลผู้สูงอายุ
เน้นการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุทั่วไป
ให้ความช่วยเหลือและสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการดำรงชีวิตของผู้สูงอายุ
ดูแลเรื่อโภชนาการสำหรับผู้สูงอายุ
ดูแลผู้สูงอาุตามบรรทัดฐานและค่านิยมที่ดีตามวัฒนธรรม
ดูแลจัดสิ่งเเวดล้อมทางกายภาพให้เอื้อต่อการทำกิจวัตร
4.บทบาทของสังคมในการดูแลผู้สูงอายุ
องค์กรต่างๆของรัฐ เอกชน เช่น กระทรวงสาธารณสุข อปท. รพ.สต. รพช ชมรมผู้สูงอายุ