Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
tak-map-e1454481173964 (ลักษณะการเกิดโรคในชุมชน (Sporadic…
ความหมาย
เป็นการศึกษาเรื่องโรค หรือสถานะสุขภาพ หรือเหตุการณ์ที่สัมพันธ์กับสุขภาพอนามัย
การเกิด (Occurrence)
ความรุนแรง
ขนาด
นิยามของโรคหรือปัญหา
การกระจาย (Distribution)
บุคคล (Person)
เป็นการแสดงให้เห็นถึง
คุณลักษณะของบุคคลที่มีโอกาสเสี่ยงต่อการติดเชื้อ
วิธีจำแนก
แบ่งตามคุณลักษณะประจำตัว
อายุ
เพศ
เชื้อชาติ
สถานภาพสมรส
แบ่งตามกิจกรรม
การทำงาน
การเล่นกีฬา
การปฏิบัติ
กิจทางศาสนา
แบ่งตามฐานะ
ชนชั้นในสังคม
ฐานะทางเศรษฐกิจ
เวลา (time)
เวลาที่เริ่มป่วย
ซึ่งเป็นเวลาที่ใกล้เคียงกับเวลาที่มีการสัมผัสโรค
การ
เปลี่ยนแปลงระยะยาว
การเปลี่ยนแปลงเป็นรอบ
สถานที่ (Place)
แสดงถึง
ลักษณะเด่น
เงื่อนไขที่มีอยู่ในสิ่งแวดล้อมที่สนับสนุนการเกิดโรค
เช่น การเกิดไข้มาลาเรียในป่า, การเกิดไข้เลือดออกในชุมชนเมือง
สิ่งกำหนด
(Determinant)
Agent (สิ่งที่ทำให้เกิดโรค)
สิ่งที่ทำให้เกิดโรคทางชีวภาพ (Biological Agents)
สิ่งที่ทำให้เกิดโรคทางเคมี (Chemical Agents)
สิ่งที่ทำให้เกิดโรคทางด้านจิตใจ และสังคม (Psychosocial
Agents)
สิ่งที่ทำให้เกิดโรคทางกายภาพ (Physical Agents)
สิ่งที่ทำให้เกิดโรคเนื่องจากขาดสารนั้น (Absence of
insufficiency of a factor necessary)
Host (โฮทส์หรือมนุษย์)
อายุ และเพศ (Age and sex)
พันธุกรรมและเชื้อชาติ (Heredity and race)
ปัจจัยทางสรีระวิทยา (Physiological factor)
ปัจจัยทางด้านจิตใจ (Physical factors)
การที่มีภูมิคุ้มกันโรคมาก่อน (Prior immunological experience)
การเคยเป็นโรคหรือได้รับการรักษาโรคมาก่อน (Prior medical
experience)
พฤติกรรมอนามัย (Health behaviour)
Environment (สิ่งแวดล้อม)
สิ่งแวดล้อมทางกายภาพ (Physical environment)
สิ่งแวดล้อมจากโรงงานอุตสาหกรรม
สภาพเสียงรบกวนในเขต
บริเวณโรงเรียน
สิ่งแวดล้อมทางเคมี (Chemecal environment)
สารเคมี แก๊สต่างๆ
สิ่งแวดล้อมทางชีวภาพ (Biological environment)
เชื้อไวรัส พยาธิ แมลง
สิ่งแวดล้อมทางเศรษฐกิจ-สังคม (Socio-economic environment)
สิ่งแวดล้อมที่เกี่ยวข้องกับลักษณะทางสังคม
การกระจายของ
ชุมชน
ขนบธรรมเนียมประเพณี
ลักษณะการเกิดโรคในชุมชน
Endemic disease
โรคประจำถิ่น
โรคอุจจาระร่วง
โรคไข้หวัดนก
Epidemic
โรคที่เกิดโดยไม่ได้คาดการณ์ล่วงหน้า ณ ช่วงเวลาใดเวลาหนึ่ง สถานที่ใดสถานที่หนึ่ง
เช่น โรค โรค SARS
Sporadic
โรคที่เกิดขึ้นกระจัดกระจาย
ไม่เฉพาะที่
เกิดทีละราย
เช่น โรคบาดทะยัก, พิษสุนัขบ้า, ไอกรน, กาฬโรค
Pandemic
โรคที่เกิดขึ้นในวงกว้าง
เช่น โรคอหิวาตกโรค
เครื่องมือที่ใช้ในการเฝ้าระวังทาง
ระบาดวิทยา
เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บ
รวบรวมข้อมูล
บัตรรายงานผู้ป่วย
(แบบรายงาน 506)
บัตรเปลี่ยนแปลงการรายงานผู้ป่วย (แบบรายงาน 507)
การสอบสวนโรค
การสอบสวนโรคผู้ป่วยเฉพาะราย
(Individual investigation)
เป็นการหา
ข้อมูลเกี่ยวกับการป่วยของแต่ละบุคคล
โดยมุ่งรายละเอียด เกี่ยวกับ บุคคล เวลา
สถานที่
การสอบสวนในท้องที่ (Community
investigation)
เป็นการหาข้อมูลเกี่ยวกับความสัมพันธ์ของผู้ป่วยกับ บุคคล เวลาสถานที่ ในชุมชน
อาศัย การซักถามการสังเกต จากทั้งมนุษย์ และสิ่งแวดล้อม ที่สงสัยว่าจะมีความสัมพันธ์กับการเกิดโรค
หลักในการสอบสวนโรค
What
Who
Where
When
Why
How
อัตราการป่วย (Morbidity Rate)
อัตราอุบัติการณ์ (Incidence Rate)
อัตราความชุกของโรค ( Prevalence Rate )
อัตราป่วยตาย (Case fatality rate)
บทบาทพยาบาลในการเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา
ร่วมกับทีมสุขภาพในการเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา บันทึกและรายงานการเกิดโรคที่ต้องเฝ้า ระวังแก่เครือข่ายงานเฝ้าระวังโรคและรับข้อมูลย้อนกลับมาใช้ในการดูแลสุขภาพของชุมชนที่รับผิดชอบ
พยาบาลและทีมสุขภาพร่วมมือกันจัดและดำเนินการเฝ้าระวังโรคเชิงรุก เฝ้าระวังเฉพาะ ปัญหาสำคัญของชุมชนที่รับผิดชอบ เฉพาะกลุ่มบุคคลที่รับผิดชอบ เช่น นักเรียนในโรงเรียน คนงานใน โรงงาน เจ้าหน้าที่ของสถานพยาบาล เป็นต้น
ติดตามข้อมูลข่าวสารและนำความรู้จากรายงานการเฝ้าระวังทางวิทยาการระบาดพยาบาลและ เจ้าหน้าที่สาธารณสุขศึกษารายงานการเฝ้าระวังทางวิทยาการระบาดประจำสัปดาห์ ประจำเดือน ประจำปีของส านักระบาดวิทยา