Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การใช้พื้นที่ชุ่มน้ำเทียม ในการบำบัดน้ำเสียชุมชน (ความหมาย (พท.ชุ่มน้ำ…
การใช้พื้นที่ชุ่มน้ำเทียม ในการบำบัดน้ำเสียชุมชน
ความหมาย
พท.ชุ่มน้ำ
ลักษณะภูมิประเทศที่มีรูปแบบ พท.ลุ่ม พท.ราบลุ่ม พท.ลุ่มชื้อ มีน้ำท่วม น้ำขัง
เกิดจากมนุษย์สร้างขึ้น
เกิดจากธรรมชาติ
ลึกไม่เกิน 6 เมตร
น้ำจืด/น้ำกร่อย/น้ำเค็ม ชายฝั่งทะเล ทะเล
พท.ชุ่มน้ำเทียม
ระบบจำลองพื้นที่ทางธรรมชาติ
ระบบที่สร้างขึ้นมา
บึงประดิษฐ์
ระบบบำบัดน้ำเสียที่อาศัยกระบวนการทางธรรมชาติ
ข้อดี / ข้อจำกัด
ข้อดี
คชจ.ต่ำ
มีประสิทธิภาพบำบัดน้ำเสียได้หลายประเภท
ทนต่อ ปป. ระดับต่พ
ข้อจำกัด
ใช้บุคลากรจำนวนมาก
จ้องตัดแต่งพืชที่ใช้ในการบำบัดตามระยะเวลา
ใช้ พท. ค่อนข้างมาก
หลักการ
พืช & หญ้า กรองน้ำเสีย
ระบบเติม O2 ในดินสู่ราก
มี 2 ประเภท
น้ำอยู่เหนือผิวดิน
คล้ายบึงธรรมชาติ
หลักการ
น้ำไหลเหนือผิวดิน ผ่านต้นพืช น้ำจะแพร่กระจายโดยระดับน้ำที่ตื้น
องค์ประกอบ
น้ำเข้า
บ่อน้ำ
ต้นพืช
น้ำออก
พืช
พืชรากเกาะดิน กก แฝก ธูป
พืชลอยน้ำ จอก ผักตบชวา
พืชใต้น้ำ พืชประเภทสาหร่าย
น้ำใต้ผิวดิน
การไหลของน้ำทิ้งทั้งแนวราบและแนวดิ่ง
หลักการ
น้ำ ผ่านวัตถุตัวกลางน้ำ
สามารถซึมได้ ไหลผ่านพืช ยึดเกาะวัตถุตัวกลาง และบนรากพืช
องค์ประกอบ
กระจายน้ำเข้า
รูปร่างของบ่อน้ำ
ชั้นของวัถุตัวกลาง
เข้าสู่พืช
ระบบการควบคุมน้ำออก
กลไก
ทางเคมี
สารละลายกด ทำให้เป็รสารแขวนลอย แล้วตะตะกอน
เกิดบ่อส่วนตื้น
ลด BOD เกิดบ่อตื้น
P จะดูดซับและตกตะกอนร่วมกับอลูมิเนียม
ทางกายภาพ
ตกตะตะกอนสารแขวนลอย = สารอินทรีย์ N P
ตะกอนลอยถูกดักโดยพืช
ทางชีวภาพ
จุลชีพ
หลักการทำงาน
วิธีการ
ปล่อยน้ำเข้าสม่ำเสมอที่บ่อ
น้ำเสียไหลผ่านต้นพืชอย่างช้า ๆ
จุลชีพที่ยึดเกาะเป็นแผ่นฟิล์มบาง ๆ บนต้น
รากพืช - ย่อยสลายสารอินทรีย์
สารอื่น ๆ เป็นตัวกลางให้จุลชีพยึดเกาะแลกเปลี่ยน O จากบรรยากาศสู่รากพืช
บ่อส่วนตื้น
ควบคุมความลึก 10-30 cm
พืชจำพวกหยั่งรากน้ำตื้น พวกชูก้านยาวทนน้ำ
กก
ธูป
อ้อ
ลด
BOD
Org-n ให้เป็นแอมโมเนีย
คล้ายบึงธรรมชาติ
บ่อส่วนลึก
ควบคุมความลึก 80-120 cm
เปิดโล่งเพื่อรองรับการถ่ายเทจากอากาศและรับแสงอาทิตย์
พืช
บัว
พืชชูใบเหนือน้ำ
คล้ายบ่อผึ่ง
ปัจจัย
อุณหภูมิ
ออกซิเจน
ค่า ph