Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ระบบทางเดินอาหาร (ข้อวินิจฉัยที่ 1
เสี่ยงต่อการได้รับสารอาหารไม่เพียงพอต่…
ระบบทางเดินอาหาร
ข้อวินิจฉัยที่ 1
เสี่ยงต่อการได้รับสารอาหารไม่เพียงพอต่อความต่อความต้องการของร่างกาย เนื่องจากเบื่ออาหาร (Anorexia) กลืนลำบาก (Dysphagia)
-
-
-
กิจกรรมการพยาบาล
-
-
แนะนำอาหารที่มีประโยชน์โดยเฉพาะอาหารที่มีโปรตีน ธาตุเหล็ก และอาหารที่มีแคลอรีสูง รวมทั้งวิตามินและเกลือแร่จากผักและผลไม้
-
ถ้าผู้ป่วยไ่สามารถรับประทานอาหารในมื้อเดียวได้ปริมาณมากพอ ควรแนะนำให้อาหารครั้งละน้อยและเพิ่มจำนวนมื้ออาหารเป็นวันละ 5-6 มื้อและไม่ควรเร่งรีบในการรับประทานอาหาร
-
ถ้าเบื่ออาหารโรงพยาบาลอาจให้ผู้ป่วยเลือกอาหารเองหรือแนะนำผู้ป่วย/ญาติ นำอาหารมาเองได้โดยไม่ขัดกับโรคที่เป็น
-
-
-
-
ข้อวินิจฉัยที่ 5 ไม่สุขสบายเนื่องจากปวดท้องมากจากโรคกระเพาะอาหารอักเสบ
ข้อมูลสนับสนุน
- ผู้ป่วยบอกว่าปวดจุกเสียดท้องมากบริเวณได้ลิ้นปี่ (Epigastric pain) และปวดทะลุท้องไปด้านหลัง
- ผู้ป่วยนั่งตัวงอ มือกุมท้อง คิ้วขมวด
-
เกณฑ์ประเมินผล
-
-
-
- ปฏิบัติตัวได้ถูกต้องสม่ำเสมอ
กิจกรรมการพยาบาล
- ประเมินอาการไม่สุขสบายจากอาการปวดจุกเสียดท้องและฟังเสียงลำไส้บีบตัว (Bowel sound)
- แนะนำและช่วยเหลือให้ผู้ป่วยอยู่ในท่าที่สบายที่สุด
- ดูแลให้ยาแก้ปวด ยาลดกรด ยาลดกการสร้างกรดในกระเพาะอาหารตามแผนการรักษา
- แนะนำให้ดื่มน้ำมากๆเพื่อเจือจางกรดในกระเพาะอาหาร
- การประเมินร่วมกับผู้ป่วยเกี่ยวกับการดำเนินชีวิตหรือการมีพฤติกรรมสุขภาพที่อาจเป็นปัจจัยส่งเสริมให้เกิดกระเพาะอาหารอักเสบเพื่อช่วยกันแก้ไขปัญหาเช่น การรับประทานอาหารไม่ตรงเวลา การรับประทานอาหารรสจัด การดื่มน้ำชา กาแฟ หรือเครื่องดื่มที่มีคาเฟ่อีน การดื่มเหล้า สูบบุหรี่ การรับประทานยาแก้ปวด ยาแก้อักเสบที่ไม่ถูกวิธีหรือมีความตึงเครียดจากชีวิตประจำวันและการทำงาน
การประเมินผลการพยาบาล
มีอาการปวดจุกเสียดท้องลดลงขอยาแก้ปวดน้อยลง รับประทานอาหารได้น้อยบอกว่ารสชาติจืด ปกติชอบรับประทานอาหารรสจัดแต่พยายามกันเลยกินพอรู้ว่าเป็นสาเหตุของโรคกระเพาะอาหารอักเสบ
ข้อวินิจฉัยที่ 7 ไม่สุขสบาย เนื่องจากมีอาการท้องอืดมาก ( Abdominal distension)
กิจกรรมการพยาบาล
3.ดูแลให้รับยารับประทาน หรือยาทาแก้ท้องอืดตามความจำเป็น
4.แนะนำให้หลีกเลี่ยงอาหารที่ย่อยยาก และทำให้มีก๊าซมาก เช่น อาหารมัน อาหารประเภทถั่ว นำ้อัดลม เป็นต้น
2.อธิบายให้ผู้ป่วยเห็นประโยชน์ของการเคลื่อนไหวร่างกาย และกระตุ้นให้พลิกตัวบ่อยๆ ลุกนั่ง ลุกเดินเข้าห้องนำ้ หรือเดินเล่นหลังรับประทานอาหาร
5.ถ้าผู้ป่วยมีท่อระบายจากทางเดินอาหาร เช่น NG tube ต้องดูแลให้มีการระบายของเหลวและก๊าซได้สะดวกไม่ให้มีการอุดตัน
-
การประเมินผล
ผู้ป่วยพลิกตะแคงตัว และลุกนั่งบ่อยขึ้น
-
-
-
ข้อมูลสนับสนุน
-
-
หน้าท้องโตตึง
-
-
-
ข้อวินิจฉัยที่ 4 เสี่ยงต่อการเกิดโรคอ้วน (Obesity) เนื่องจากบริโภคนิสัยไม่เหมาะสมและขาดการออกกำลังกาย
-
-
-
การประเมินผลการพยาบาล
ผู้ป่วยบอกว่าจะตั้งใจลดน้ำหนักให้ได้ 3-4 กิโลกรัม ใน 1 เดือน ผู้ป่วยกินข้าวและขนมหวานน้อยลงกินผักผลไม้มากขึ้นมากขึ้น 2500-3000 ซีซี ออกกลังกายโดยการเดินเร็ววันละ 2 ครั้ง เช้าเย็น ครั้งละ 1 ชั่วโมง และสามารถลดน้ำหนักได้ 2 กิโลกรัม ใน 1 เดือน
กิจกรรมการพยาบาล
-
-
-
ให้ผู้ป่วยและครอบครัวมีส่วนร่วมในการเลือกกิจกรรมหรือการออกกำลังกายที่ผู้ป่วยชอบและทำกับครอบครัวได้เพื่อให้เกิดกำลังใจ
-
-
ข้อวินิจฉัยที่ 6
ไม่สุขสบายเนื่องจากมีอาการคลื่นไส้อาเจียน (Nausea&Vomitting)
-
-
-
-
การประเมินผลการพยาบาล
ผู้ป่วยบอกว่าอาการคลื่นไส้ลดลง อาเจียนเป็นนำ้ปนเศษอาหารเล็กน้อย จำนวน100cc. รับประทานอาหารได้มื้อละ 1/4 ถ้วย รับประทานขนมและอาหารแห้งๆระหว่างมื้อได้เล็กน้อย
Intake=2550cc. Output=2600cc.
ข้อวินิจฉัยที่ 2
ได้รับสารอาหารไม่เพียงพอ
ต่อความต้องการของร่างกาย
เนื่องจากมีการบาดเจ็บและติดเชื้อรุนแรง
(Severe trauma and severe infection)
-
-
-
กิจกรรมพยาบาล
ดูแลให้อาหารทางสายยางให้ถูกต้อง
ครบถ้วนตามแผนการรักษา อาหารBlenderized 5มื้อๆละ400cc
เพิ่มไข่ขาววันละ 3 ฟอง
-
-
หารมีปัญหาอาหารค้างในกระเพาะอาหารจำนวนมาก(เกิน50cc)
หรือมีเลือดออกในทางเดินอาหารให้รายงานเเพทย์ให้ทราบ
-
การประเมินภาวะสุขภาพ
-
การตรวจร่างกาย
-
-
-
-
ประเมินน้ำในช่องท้อง(Ascitis) หรืออาการบวม(Adema)ตามแขนขาจากการมีอัลบูมินในเลือดต่ำ(Hypoalbuminemia)
-
-
-