Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยโรคจิตเภท (Schizophrenia) (ชนิดของโรคจิตเภท…
การพยาบาลผู้ป่วยโรคจิตเภท
(Schizophrenia)
โรคที่มีความผิดปกติของความคิด อารมณ์ การรับรู้ และพฤติกรรม
ลักษณะอาการ
อาการเริ่มต้น พฤติกรรมเปลียนแปลง แสดงอารมณ์ได้ไม่เหมาะสม กิจวัตรประจำวันบกพร่อง
อาการป่วย
ความผิดปกติของความคิด ขาดความคิดเชื่อมโยง มีความคิดเข้าหาตนเอง (Autism) จนหลงผิด
Thought Controlled คิดว่าตนเองถูกควบคุม
**Persecutory delusions คิดว่าผู้อื่นปองร้าย
Referential delusions คิดว่าผู้อื่นกล่าวถึงตน
Nihilistic delusions คิดว่าส่วนของร่างกายขาดหาย
Somatic delusions คิดว่าตนเองเจ็บป่วยทางกาย
Grandiose delusions คิดว่าตนเป็นใหญ่
Erotomanic delusions เชื่อว่ามีผู้อื่นมาหลงรัก
Jealousy delusions เชื่อว่าคู่ครองนอกใจ
Thought withdrawal เชื่อว่าอำนาจบางอย่างเก็บเอาความคิดตนไป
Thought insertion เชื่อว่ามีพลังอำนาจบางอย่างใส่ความคิดที่ไม่ใช่ของตนเองเข้ามา
ความผิดปกติของการรับรู้ ที่พบได้บ่อยคือ อาการประสาทหลอน
**Auditory hallucination
Visual hallucination
Tactile hallucination
Olfactory hallucination
ความผิดปกติทางด้านอารมณ์
Apathy เฉยเมย ไม่แสดงความรู้สึก
Inappropriate mood แสดงอารมณ์ได้ไม่เหมาะสม
ความสับสนเกี่ยวกับตน เอกลักษณ์ และบทบาทของตน
อาการด้านลบ Negative symptoms
ขาดความสนใจในกิจกรรมทุกชนิด (Avolition/Amotivation)
ขาดความสุข(Anhedonia)
อารมณ์เฉยเมย (Decreased emotional expression)
ไม่เข้าร่วมกิจกรรมทางสังคม(Asociality)
พูดน้อย หรือไ่ม่พูด(Alogia)
อาการทางคลินิก
Primary symptoms
Inappropriate mood แสดงอารมณ์ได้ไม่เหมาะสม
Autism คิดหมกมุ่นแต่เรื่องของตนเอง
Association disturbance การติดต่อเชื่อมโยงผิดปกติ
Ambivalence มีความรู้สึกสองอย่างในเวลาเดียว
Secondary Symptoms
Delusion มีอาการหลงผิด
Illusion การแปลภาพผิดไปจากความจริง
Hallucination การรับรู้ผิด
อาการอื่นๆ
ความสามารถในการทำสิ่งต่าง ๆ เสีย (Inadequate ability)
สูญเสียการมีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อม
สูญเสียความเป็นตนเองและเอกลักษณ์ของตน (Loss of ego boundaries)
อารมณ์ขึ้น ๆ ลง ๆ
ความอยากอาหารเปลี่ยนแปลง
สาเหตุ
ปัจจัยทางด้านจิตใจ
ทฤษฎีจิตวิเคราะห์และทฤษฎีจิตวิทยาพัฒนาการ พบความผิดปกติของพัฒนาการทางบุคลิกภาพในวัยเด็กโดยเฉพาะขวบปีแรก
ความขัดแย้งภายในจิตใจ(ความบกพร่องของอีโก้)
มีการรับรู้ ตอบสนองต่อความเครียดไม่เหมาะสม
ปัจจัยทางด้านสังคมสิ่งแวดล้อม
ครอบครัวที่มีความขัดแย้ง หรือเลี้ยงลูกแบบปกป้องมากเกินไป
ปัจจัยด้านชีวภาพ
กายวิภาคของสมอง
ปริมาณเนื้อสมองน้อยว่าปกติ โดยเฉพาะ cortical gray matter และ ventricleโตกว่าปกติ
ระบบสารเคมีในสมอง เชื่อว่าการทำงานของ Dopamine มากไป serotonin, norepinephrine, acetylcholine
ประสาทสรีรวิทยา
พันธุกรรม
ชนิดของโรคจิตเภท
ชนิดหวาดระแวง (Paranoid Schizophrenia) มีอาการหลงผิดหนึ่งอย่างหรือมากกว่านั้น ผู้ป่วยไม่มีอาการ การที่พูดไม่ต่อเนื่องกัน พฤติกรรมนิ่งเฉยอารมณ์แบบเรียบเฉยหรือไม่เหมาะสม
ชนิดมีอาการหลงเหลือ (Residual Schizophrenia) ผู้ป่วยไม่มีอาการเด่นชัดของชนิดอื่นๆ เคยเป็นโรคจิตเภทมาแล้วอย่างน้อย 1ครั้ง มีอาการต่อเนื่อง
4.ชนิดวุ่นวาย (Disorganized Schizophrenia)
ชนิดคาทาโทเนีย(Catatonic Schizophrenia) มีอาการอย่างน้อย 2 อย่าง
ชนิดแยกไม่ได้ (Undifferentiated Schizophrenia) มีอาการของจิตเภทชัดเจน แต่ไม่เข้ากับชนิดอื่นๆ
โรคจิตเภทชนิดเฮบีฟรีนิก (Hebephrenic Schizophrenia) มีอาการของความคิด และคำพูดไม่สอดคล้องกัน (incoherence) อารมณ์เฉยเมย
โรคจิตเภทชนิดพฤติกรรมเสื่อมถอย (Simple Schizophrenia)
โรคจิตเภทชนิดเศร้าภายหลัง (Post-Schizophrenic Depression)
2.ชนิดแยกไม่ได้ (Unspecified Schizophrenia)
การวินิจฉัยตามเกณฑ์ DSM-5
ไม่มีอาการหรืออาการแสดงของ schizoaffective หรือ mood disorder
มีลักษณะอาการเฉพาะอย่างน้อย 2 อย่าง ต่อไปนี้
delusion
hallucination
disorganized speech
negative symptoms
ไม่ได้มีสาเหตุมาจากการใช้สารเสพติดหรือยา
ระยะเวลาของการมีอาการแสดงความผิดปกตินานอย่างน้อย 6 เดือน
การทำหน้าที่ทางอาชีพและสังคมผิดปกติไป
สัมพันธ์กับความผิดปกติในวัยเด็ก เช่น มีประวัติออติสติก
การบำบัดรักษา
การรักษาด้วยยา (Chemotherapy) การรักษาด้วยยา เช่น ยา Antipsychotic druge, Antiparkinson agents อาจต้องเตรียมไว้เพื่อลดอาการ extrapyramidal side effect ของ psychotropic drug
การรักษาด้วยการทำพฤติกรรมบำบัด (Behavior Therapy) เป็นการรักษาด้วยการปรับพฤติกรรม การใช้ทฤษฎีการเรียนรู้ การเสริมแรง การให้รางวัล การลงโทษ และเสริมสร้างพฤติกรรมที่เหมาะสม
การใช้สัมธภาพและสิ่งแวดล้อมเพื่อการบำบัด (Relationship and Milieu Therapy) เน้นที่การติดต่อสื่อสาร การใช้สัมพันธภาพ และจัดสิ่งแวดล้อมที่เหมาะสม ลดภาวะเครียด และพัฒนาความสามารถในการปรับตัวรายบุคคล
จิตบำบัด (Psychotherapy) อาจดำเนินการทั้งรายบุคคล เป็นกลุ่ม หรือ ครอบครัวตามความเหมาะสม
การรักษาทางกายหรือการรักษาด้วยไฟฟ้า (Somatic Therapy) ใช้ในรายที่รุนแรง หรือผู้ป่วยรายที่ใช้ยาไม่ได้ผล อาจต้องรักษาด้วยไฟฟ้า (ECT)
การพยาบาล
การวางแผนการพยาบาล
การวางแผนระยะสั้น การดูแลความปลอดภัย,ได้รับอาหาร,การพักผ่อนหลับนอนและสุขอนามัยที่ดี,ได้รับยาอย่างถูกต้อง, ECT, การพัฒนาทักษะสัมพันธภาพ,พัฒนาการปรับตัวการมองตนและมองโลก
การวางแผนระยะยาว การดูแลตนเองด้านสุขภาพและการบำบัดอย่างต่อเนื่องใช้ยาอย่างถูกต้อง, การกำหนดแผนการดำเนินชีวิตในครอบครัวและในสังคมเหมาะสม,การใช้แหล่งบริการด้านสุขภาพจิต
4.การปฏิบัติการพยาบาล
ใช้ความคงเส้นคงวาและชัดเจนในการติดต่อสื่อสาร
ใช้หลักสัมพันธภาพเพื่อการบำบัด
รักษาสมดุลด้านชีววิทยา
การจัดให้มีกิจกรรมบำบัดที่เหมาะสม
ลดความวิตกกังวลด้วยการยอมรับเสนอแนะและส่งเสริมการเผชิญปัญหาที่เหมาะสม
ระมัดระวังอันตรายที่จะเกิดกับผู้ป่วยและผู้ที่อยู่ข้างเคียงในช่วงที่ผู้ป่วยมีอาการรุนแรง
เสริมสร้างสัมพันธภาพและความไว้วางใจ
การวินิจฉัยการพยาบาล
เสี่ยงต่ออันตรายจากอุบัติเหตุจากการพยายามหนีจากอาการหลงผิดและประสาทหลอน
พฤติกรรมถดถอยเนื่องจากการรับรู้เสีย
ขาดอาหารและน้ำเนื่องจากปฏิเสธอาหารและระแวงว่ามียาพิษในอาหาร
แยกตัวเนื่องจากไม่มั่นใจการมีสัมพันธภาพกับผู้อื่น
ร่างกายสกปรกไม่สนใจดูแลสุขภาพอนามัยของตน
ไม่สามารถสื่อสารได้ดีเนื่องจากการรับรู้บกพร่อง
สับสนวุ่นวายจากอาการหลงผิดและประสาทหลอน
การประเมินผล
ผู้ป่วยมีสัมพันธภาพกับครอบครัวดีขึ้น
ผู้ป่วยได้รับการเรียนรู้และพัฒนาทักษะการสื่อสารกับบุคคลอื่นและสังคมดีขึ้น
ผู้ป่วยมีสัมพันธภาพกับบุคคลอื่นได้ดีขึ้น
ผู้ป่วยรับรู้และมุ่งมั่นในการปฏิบัติบทบาทของตนในครอบครัวดีขึ้น
ผู้ป่วยได้รับการดูแลอย่างมีประสิทธิภาพในการบำบัดด้วยยาและการบำบัดทางชีวะภาพ
ผู้ป่วยสามารถกลับไปทำงานได้ตามปกติ
ผู้ป่วยมีความปลอดภัยจากอันตรายและอุบัติเหตุที่เกิดขึ้นในภาวะไม่รู้สติ
การประเมินสภาพปัญหา
3) การรับรู้ของผู้ป่วยผู้ป่วยมีระดับการรับรู้เพียงใด
4) พฤติกรรมของผู้ป่วยผู้ป่วยแสดงออกต่ออาการทางจิตอย่างไร
2) การประเมินต้านการคิดผู้ป่วยมีความผิดปกติระดับใด
5) ด้านสัมพันธภาพผู้ป่วยแยกตัวปฏิเสธการมีสัมพันธภาพกับผู้อื่น
1) การประเมินสภาพด้านร่างกายประเมินบุคลิกภาพการแต่ความสะอาดการดูแลและเอาใจใส่ต่อสุขภาพตนเอง