Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ปัญหาทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมระดับโลก (ภาวะโลกร้อน (ปัญหา (ผลกระทบจากภาวะโลก…
ปัญหาทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมระดับโลก
ภาวะโลกร้อน
ปัญหา
ผลกระทบจากภาวะโลกร้อน
ผลกระทบด้านนิเวศวิทยา
ผลกระทบด้านเศรษฐกิจ
สาเหตุ
ภาวะโลกร้อนขึ้นที่มีมูลเหตุมาจากการปล่อยก๊าซพิษต่าง ๆ จากโรงงานอุตสาหกรรม ทำให้แสงอาทิตย์ส่องทะลุผ่านชั้นบรรยากาศมาสู่พื้นโลกได้มากขึ้น ซึ่งนั่นเป็นที่รู้จักกันโดยเรียกว่า สภาวะเรือนกระจก
ผลกระทบ
อุณหภูมิทั่วโลกที่กำลังสูงขึ้น,ระดับน้ำทะเลเพิ่มสูงขึ้นเนื่องจากธารน้ำแข็งที่กำลังละลาย
การป้องกัน
ลดการใช้พลังงานที่ไม่จำเป็นจากเครื่องใช้ไฟฟ้า ไม่เผาป่า
ปรากฏการณ์เรือนกระจก
สาเหตุ
ปรากฏการณ์ที่โลกมีอุณหภูมิสูงขึ้น เนื่องจาก พลังงานแสงอาทิตย์ ในช่วงความยาวคลื่นอินฟราเรดที่สะท้อนกลับถูกดูดกลืนโดย โมเลกุลของ ไอน้ำ คาร์บอนไดออกไซด์ C2O มีเทน (CH4) และ CFCsไนตรัสออกไซด์ (N2O)ในบรรยากาศทำให้โมเลกุลเหล่านี้มีพลังงานสูงขึ้นมีการถ่ายเทพลังงานซึ่งกันและกันทำให้อุณหภูมิในชั้นบรรยากาศสูงขึ้นการถ่ายเทพลังงานและความยาวคลื่นของโมเลกุลเหล่านี้ต่อๆกันไป
ปัญหา
ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) เป็นก๊าซที่สะสมพลังงานความร้อนในบรรยากาศโลกไว้มากที่สุดและมีผลทำให้ อุณหภูมิของโลกสูงขึ้นมากที่สุดในบรรดาก๊าซเรือนกระจกชนิดอื่นๆ CO2
ผลกระทบ
ผลกระทบต่อแหล่งน้ำ
ผลกระทบต่อแหล่งพลังงาน
ผลกระทบต่อระดับน้ำทะเลและที่อยู่อาศัยของมนุษย์ เกิดการละลาย
การป้องกัน
ลดระยะทางที่ใช้สำหรับการขนส่ง ,ลดระดับการใช้งานเครื่องใช้ ไฟฟ้า ,นำกระดาษหรือภาชนะบรรจุอื่นๆ กลับไปใช้ใหม่ ,ลดการใช้น้ำมันจากการขับขี่ยวดยานพาหนะ
ปรากฏการณ์ลานีญาเอลนีโญ
ปัญหา
เอลนีโญ
เป็นปรากฏการณ์ธรรมชาติที่ปฏิสัมพันธ์ระหว่างการหมุนเวียนของกระแสอากาศกับกระแสน้ำในมหาสมุทร มักเกิดขึ้นในช่วงเทศกาลคริสต์มาสเมื่อกระแสน้ำอุ่นในมหาสมุทรแปซิฟิกไหลเข้าแทนที่กระแสน้ำเย็นบริเวณชายฝั่งเปรู ส่งผลกระทบทางระบบนิเวศและห่วงโซ่อาหาร ฝูงปลามีจำนวนลดลง ทำให้นกชายฝั่งขาดอาหาร ชาวประมงขาดรายได้ รวมทั้งเกิดฝนตกและดินถล่มอย่างรุนแรงในประเทศเปรูและเอกวาดอร์
ลานีญา
เป็นปรากฏการณ์ที่มีลักษณะตรงข้ามกับเอลนีโญ คือมีลักษณะคล้ายคลึงกับสภาวะปกติแต่รุนแรงกว่า กล่าวคือ กระแสลมสินค้าตะวันออก (Trade wind) ที่พัดไปทางทิศตะวันออกมีกำลังแรงทำให้ระดับน้ำทะเลบริเวณทางซีกตะวันตกของมหาสมุทรแปซิฟิกสูงกว่าสภาวะปกติ ลมค้ายกตัวเหนือประเทศอินโดนีเซียทำให้เกิดฝนตกอย่างหนัก
สาเหตุ
เกิดการเปลี่ยนแปลงในอุณหภูมิผิวน้ำทะเลของมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันออก โดยอุ่นขึ้นหรือเย็นลงผิดปกติ ซึ่งเรียกว่า เอลนีโญและลานีญาตามลำดับเอลนีโญ ซึ่งเป็นปรากฏการณ์ที่อุณหภูมิมหาสมุทรอุ่นขึ้นผิดปกติ ประกอบกับความดันบรรยากาศสูงบริเวณมหาสมุทรแปซิฟิกด้านตะวันตก ส่วนลานีญา เป็นปรากฏการณ์ที่อุณหภูมิมหาสมุทรเย็นลงผิดปกติ ประกอบกับความดันบรรยากาศต่ำบริเวณมหาสมุทรแปซิฟิกด้านตะวันตก
การป้องกัน
-ช่วยกันรักษาความสะอาดของชุมชนไม่ทำให้มีขยะเน่าเสียเพราะถ้ามีขยะมากจนเกินไปก็จะทำให้เกิดการทำลายชองชั้นบรรยากาศของโลกได้
ผลกระทบ
-ทำให้พื้นที่ที่เคยชุ่มชื้นเกิดภาวะแห้งแล้งและพื้นที่ที่เคยมีฝนตกน้อยกลับฝนตกหนัก เกิดภาวะน้ำท่วม -ทำให้อุณหภูมิของอากาศเปลี่ยนแปลง -ผลกระทบของลานีญาส่วนใหญ่จะตรงข้ามกับของเอลนีโญ ตัวอย่างเช่น เอลนีโญจะทำให้เกิดช่วงฝนตกในแถบสหรัฐอเมริกา ตอนกลางตะวันตก ขณะที่ลานีญาจะ ทำให้เกิดช่วงแห้งแล้งในพื้นที่เดียวกัน ส่วนอีกด้านหนึ่งของมหาสมุทรแปซิฟิก ลานีญาทำให้เกิด
รูโหว่โอโซน
ปัญหา
การใช้สารคลอโรฟลูออโรคาร์บอนหรือสารซีเอฟซี (Chlorofluorocarbons : CFCs) ในเครื่องทำความเย็นจำพวกตู้เย็น แอร์ รวมถึงใช้ในสเปรย์ฉีดพ่นหรือการทำโฟม โดยสารซีเอฟซีที่หลุดลอยขึ้นไปในบรรยากาศจะไปทำลายก๊าซโอโซน ทำให้เกิดเป็นรูโหว่ในชั้นโอโซน
การป้องกัน
-ลดปริมาณมลสารที่ทำให้อากาศเสีย เช่น ฝุ่นละอองและสารพิษ -ลดปริมาณก๊าซเรือนกระจก เช่น ไม่เผาป่า ฟางข้าว หรือขยะมูลฝอย -อนุรักษ์ป่าไม้เพื่อช่วยลดปัญหาอากาศเสียและวาตภัย
ผลกระทบ
-พลังงานความร้อนบนพื้นโลกมากขึ้น -รังสีอัลตราไวโอเลตในช่วงคลื่นซึ่งเป็น อันตรายต่อสิ่งที่มีชีวิตผ่านลงมาถึงพื้นโลกมากขึ้น -ความร้อนจะทำให้น้ำในมหาสมุทรขยายตัว ทำให้เกิดความแปรปรวนทางน้ำ
สาเหตุ
สาเหตุหลักของช่องโหว่ชั้นโอโซนเกิดจากสารประกอบคลอรีน ที่ใช้ในเครื่องปรับอากาศ ตู้เย็น กระป๋องสเปรย์ ชนิดต่างๆ ซึ่งระเหยขึ้นไปสะสมปะปนกับโอโซน และทำให้เกิดปฏิกิริยาการแตกตัวของโอโซน
ฝนกรด
สาเหตุ
เป็นผลมาจากก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์ (sulfur dioxide: SO2) และไนโตรเจนออกไซด์ (nitrogen oxide: NO) โดยก๊าซทั้งสองชนิดนี้มักจะเกิดจากการเผาผลาญเชื้อเพลิงฟอสซิล เช่น ถ่านหิน ก๊าซธรรมชาติ และน้ำมันก๊าซทั้งสองชนิดนี้จะทำปฏิกิริยากับน้ำ (water: H2O) และสารเคมีอื่น ๆ ในชั้นบรรยากาศเพื่อก่อให้เกิดกรดซัลฟิวริก
ปัญหา
เป็นปรากฏการณ์ธรรมชาติอันเกิดเนื่องมาจากมลภาวะทางอากาศ ซึ่งส่วนใหญ่เกิดมาจากการกระบวนการผลิตไฟฟ้าและอุตสาหกรรมทั่วไปของมนุษย์ โดยฝนกรดก่อให้เกิดปัญหาต่าง ๆ ต่อสภาพแวดล้อมมากมาย
ผลกระทบ
-ทำให้ดินเปรี้ยว -ถ้าในดินมีโลหะหนัก เช่น อะลูมิเนียม และปรอท ฝนกรดก็จะทำให้สารอะลูมิเนียมซัลเฟต ออกจากเนื้อดิน เข้าไปละลายอยู่ในน้ำใต้ดิน แล้วระงับการแตกรากของพืช ในที่สุดพืชจะหยุดโต และอาจจะตาย -ลดความอุดมสมบูรณ์ตามปกติของเนื้อดิน
การป้องกัน
ลดปริมาณก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์และไนโตรเจนออกไซด์ที่จะเข้าสู่บรรยากาศจากโรงงานไฟฟ้า ยานพาหนะ และโรงงานอุตสาห์กรรมทั่วไป วิธีที่ง่ายที่สุดคือการลดการใช้เชื้อเพลิงฟอสซิลโดยการประหยัดพลังงาน
ปัญหาหมอกควัน pm2.5
สาเหตุ
รถยนต์ โรงงาน เผาป่า
ปัญหา
ทำให้หายใจยาก
ผลกระทบ
-อันตลายต่อปอด -หายใจลำบาก ระคายเคืองตา ปวดศีรษะ -ระคายเคืองตามร่างกาย
การแก้ไข
-มีการพ่นละอองน้ำจากเขตต่าง ๆ ในเขตชุมชน และพ่นละอองน้ำจากตึกสูง -งดการเผาป่า -ใส่หน้ากาก pm2.5
การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ทรัพยากรที่ใช้แล้วหมดไป
การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม มีวิธีการหลายวิธีที่อาจนำมาใช้ในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เช่น การออกกฎหมาย การวางแผนพัฒนาสิ่งแวดล้อม การกำหนดมาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดล้อม การศึกษา และจัดทำรายงานผลกระทบสิ่งแวดล้อม อันเกิดจากโครงการพัฒนาทั้งของภาครัฐบาลและภาคเอกชนตลอดจนการประชาสัมพันธ์และการให้การศึกษาเกี่ยวกับความสำคัญของทรัพยากรธรรมชาติสิ่งแวดล้อมแก่เด็ก เราทุกคนควรรู้และเข้าใจถึงความสำคัญของทรัพยากรธรรมชาติและควรให้ความร่วมมือในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมทั้งนี้ก็เพื่อความสุขและความปลอดภัยในชีวิตของคนไทยทุกคน
ทรัพยากรที่ใช้ไม่หมดสิ้น
การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง
1.การบำบัดน้ำเสียด้วยผักตบชวา 2.การบำบัดน้ำเสียด้วยการผสมผสานระหว่างพืชน้ำกับระบบเติมอากาศ 3.การบำบัดน้ำเสียด้วยระบบบ่อบำบัดและวัชพืชบำบัด 4.กังหันน้ำชัยพัฒนา 5.การกำจัดน้ำเสียโดยวิธีธรรมชาติ