Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การเฝ้าระวังและการสอบสวน ทางระบาดวิทยา (ขั้นตอนการสอบสวนโรค (4…
การเฝ้าระวังและการสอบสวน
ทางระบาดวิทยา
การเฝ้าระวังโรค (Surveillance)
เป็นเครื่องมือค้นหาปัญหาอย่างเป็นระบบ
เป็นการเฝ้าสังเกต ติดตาม พินิจพิจารณาอย่างสม่ำเสมอ เพื่อให้ทันการเปลี่ยนแปลงของลักษณะการเกิดโรคและการ กระจายโรค รวมทั้งปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเปลี่ยนแปลง
เป็นกระบวนการรวบรวมจับเก็บข้อมูลเกี่ยวกับโรค
วัตถุประสงค์ เพื่อทราบถึงการเกิดโรคอย่างทันท่วงที ทราบแนวโน้มการเกิดโรค ทราบวิธีการควบคุมและป้องกัน
ประเภท การเฝ้าระวังโรคมี 4 ประเภท
การเฝ้าระวัง เชิงรุก(Active Surveillance)
การเฝ้าระวังรับ (Passive Surveillance)
การเฝ้าระวังพิเศษ (Specail Surveillance)
การเฝ้าระวังเฉพาะโรค (Sentinel Surveillance)
กระบวนการเฝ้าระวังโรค 4 ขั้นตอน
วิเคราะห์ข้อมูลคิดคำนวณแจกแจงตามบุคคล-เวลาสถานที่ เปรียบเทียบให้เห็นชัดเจน
การแปลผลและนำเสนอผลระบุสภาพการเปลี่ยนแปลง แนวโน้มของปัญหา ความผิด ปกติ ระบุกลุ่มสี่ยง พื้นที่เสี่ยง ปัจจัยเสี่ยง ตลอดจนความน่าเชื่อถือของข้อมูล
การเก็บรวบรวมข้อมูล
การเผยแพร่ ต้องเปิดเผยแก่ผู้ที่เกี่ยวข้อง
และนำไปใช้ประโยชน์
วัตถุประสงค์ในการสอบสวนโรค
เพื่อศึกษาลักษณะทางระบาดวิทยาของโรคตาม บุคคล เวลา สถานที่
เพื่อค้นหาแหล่งโรค วิธีการถ่ายทอดโรค ผู้สัมผัสโรค
เพื่อยืนยันการวินิจฉัยและการระบาดของโรค
เพื่อหามาตรการในการป้องกันควบคุมโรค
ขั้นตอนการสอบสวนโรค
ยืนยันการระบาดของโรค
ค้นหาผู้ป่วย
รายแรก
รายใหม่
ยืนยันการวินิจฉัยโรค
4.รวบรวมข้อมูลทางระบาดวิทยาเชิงพรรณนา
รายใหม่
สถานที่
บุคคล
ตั้งสมมุติฐานและพิสูจน์สมมุติฐาน
กำหนดมาตรการป้องกันเพื่อควบคุมการระบาดของโรค
เขียนรายงาน
เพื่อรายงานผู้บริหาร
เพื่อพิมพ์เผยแพร