Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การเฝ้าระวังและการสอบสวนทาง ระบาดวิทยา (การเฝ้าระวังโรค (Surveillance)…
การเฝ้าระวังและการสอบสวนทาง
ระบาดวิทยา
การเฝ้าระวังโรค (Surveillance)
กระบวนการรวบรวมและจัดเก็บข้อมูลเกี่ยวกับโรค, เครื่องมือค้นปัญหาอย่างเป็นระบบ
ประเภท
การเฝ้าระวังเชิงรุก (Active Surveillance)
การเฝ้าระวังรับ (Passive Surveillance)
การเฝ้าระวังพิเศษ (Specail Surveillance)
การเฝ้าระวังเฉพาะโรค (Sentinel Surveillance)
กระบวนการ
เก็บรวบรวมข้อมูล
วิเคราะห์ข้อมูล
แปลผลและนำเสนอ
เผยแพร่
ควรรู้
ก. องค์ความรู้เรื่องโรค/ปัญหาสาธารณสุข
Sign & Symptom
ระยะฟักตัว
ทางติดต่อ (ทางที่ได้รับ) เชื้อ
ข. ขั้นตอนการสอบสวนโรค
ยืนยันการวินิจฉัยโรค
อาการทางคลินิก, Lab
ยืนยันการระบาดของโรค
เปรียบเทียบกับข้อมูลย้อนหลังที่ผ่านมา
ค้นหาผู้ป่วย รายแรกๆ, รายใหม่
รวบรวมข้อมูลทางระบาดวิทยา เชิงพรรณนา
เวลา : วัน/เวลาเริ่มป่วย ให้ทำ Epidemic curve
สถานที่ : วิเคราะห์จำนวนและอัตราป่วยตามสถานที่
บุคคล : วิเคราะห์จำนวนและอัตราป่วยตามบุคคล
ตั้งสมมุติฐานและพิสูจน์สมมุติฐาน
ระยะฟักตัว,โรคหรือลักษณะทางคลินิกของผู้ป่วย
กำหนดมาตรการป้องกันเพื่อควบคุมการระบาดของโรค
มาตรการทั่วไปใช้ได้ทุกโรค
มาตรการเฉพาะสำหรับแต่ละกลุ่มโรค
มาตรการเฉพาะสำหรับการระบาดนี้
เขียนรายงานเพื่อรายงานผู้บริหารและเพื่อพิมพ์เผยแพร่
การศึกษาทางระบาดวิทยา
การสังเกต
เชิงพรรณา
เชิงอนุมาน
Cross – Cohort sectional
Case control
การศึกษาจาก ผล ไปหา เหตุ
Cohort
การศึกษา เหตุ ไปหา ผล
วัดความเสี่ยงการเกิดโรคได้โดยตรง
การทดลอง