Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ระบาดวิทยาและสถิติชีพ (คุณสมบัติของโรคติดเชื้อ (ความสามารถในการติดเชื้อ…
ระบาดวิทยาและสถิติชีพ
หลักการป้องกันและควบคุมโรค
Host
ส่งเสริมสุขภาพ (Health promotion)
การป้องกันเฉพาะ (Specific protection) เช่น การฉีดวัคซีน การให้ยาป้องกัน
Agent
การวินิจฉัยตั้งแต่แรกเริ่มและรักษาทันที (Early diagnosis and prompt treatment)
การค้นหาและรักษาพาหะนำโรค (Detection and treatment of carriers)
การควบคุมแหล่งแพร่เชื้อ(Control potential sources of pathogen)
Environment
การควบคุมสิ่งแวดล้อม (Environment control) เช่น ขยะ น้ำเสีย สัตว์และ แมลงนำโรค
คุณสมบัติของโรคติดเชื้อ
ความสามารถในการติดเชื้อ (Infectivity)
ความสามารถในการก่อพยาธิสภาพ (Pathogenicity)
ความรุนแรงของโรค (Virulence)
ความสามารถในการทำให้ เกิดภูมิต้านทานโรค (Immunogenicity)
ลักษณะของการเกิดโรคในชุมชน
Endemic disease
Sporadic
Epidemic
Pandemic
การถ่ายทอดโรค
ถ่ายทอดโรคโดยตรง
ถ่ายทอดโรคโดยทางอ้อม
บทบาทของพยาบาล
ร่วมกับทีมสุขภาพในการเฝ้าระวังเครือข่ายระดับล่างและ ระดับกลาง บันทึกและรายงานการเกิดโรค
พยาบาลและทีมสุขภาพ ร่วมกันเฝ้าระวังโรคที่เป็นปัญหาเฉพาะของชุมชนที่รับผิดชอบเฉพาะกลุ่ม
ติดตามข้อมูลข่าวสารและนำความรู้จากรายงานการเฝ้าระวัง ไปใช้ในการ วางแผนการป้องกันและควบคุมโรค
ธรรมชาติของโรค
ระยะมีความไวต่อการเกิดโรค (Stage of susceptibility)
ระยะก่อนมีอาการของโรค (Stage of preclinical disease)
ระยะมีอาการของโรค (Stage of clinical disease)
ระยะมีความพิการของโรค (Stage of disability)
ระดับและแนวทางการป้องกันโรค
Primary prevention
ส่งเสริมสุขภาพ (Health Promotion)
คุ้มกันเฉพาะ (Specific Protection)
Secondary prevention
ค้นหาผู้ป่วยในระยะที่ยังไม่มีอาการ
วินิจฉัยผู้ป่วยได้อย่างรวดเร็วเมื่อพบมีอาการ
Tertiary prevention
กำจัดความพิการของโรค (Disability limitation)
ฟื้นฟูสุขภาพ (Rehabilitation)
ประเภทการเฝ้าระวังโรค
การเฝ้าระวังเชิงรุก(Active Surveillance)
การเฝ้าระวังเชิงรับ (Passive Surveillance)
การเฝ้าระวังพิเศษ (Specail Surveillance)
การเฝ้าระวังเฉพาะโรค (Sentinel Surveillance)
กระบวนการเฝ้าระวังโรค
การเก็บรวบรวมข้อมูล
วิเคราะห์ข้อมูล
การแปลผลและนำเสนอผล
การเผยแพร่
การสอบสวนการระบาด ของโรค
องค์ความรู้ที่สำคัญของโรคนั้นๆ
อาการและอาการแสดงที่สำคัญ
ระยะฟักตัว
ทางติดต่อ (ทางที่ได้รับ) เชื้อ/สารก่อโรค/สารพิษ
ขั้นตอนการสอบสวนโรค
ยืนยันการวินิจฉัยโรค
ยืนยันการระบาดของโรค
ค้นหาผู้ป่วย
รวบรวมข้อมูลทางระบาดวิทยาเชิงพรรณนา
ตั้งสมมุติฐานและพิสูจน์สมมุติฐาน
กำหนดมาตรการป้องกันเพื่อควบคุมการระบาดของโรค
เขียนรายงาน