Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Subdural hematoma (การวินิจฉัย (การซักประวัติอาการเเละอาการเเสดง, 2…
Subdural hematoma
-
-
ชนิดของSubdural hematoma
- ระยะเฉียบพลัน (acute SDH) ผู้ป่วยมักมีอาการหลังเกิดอุบัติเหตุ 24 ชั่วโมง โดยมากผู้ป่วยจะมาพบแพทย์ด้วยอาการหมดสติ หรือมีการเปลี่ยน แปลง ของระดับความรู้สึกตัวอย่างชั่วคราว ที่เรียกว่า lucid interval อาจพบได้อีกก็อาจเป็นอาการปากเบี้ยว แขนขาอ่อนแรง รูม่านตาผิดปกติหรืออาการของเนื้อ สมองบวมเหล่านี้เป็นต้น.
- ระยะรองเฉียบพลัน (subacute SDH) อาการเกิดขึ้นในช่วง 24 ชั่วโมงแรกจนถึง 2 สัปดาห์ ผู้ป่วยมักมาด้วยอาการปวดศรีษะ มีระดับความรู้สึกตัวลดลง หรืออาการแขนขาอ่อนแรง.
- ระยะเรื้อรัง (chronic SDH) มักมีอาการภายใน 2 สัปดาห์หรือนานกว่านั้น ผู้ป่วยอาจมาด้วยมีการเปลี่ยน แปลงของระดับความรู้สึกตัวหรือสับสน ผู้ป่วยบางรายอาจมาด้วยอาการหลงลืม หรือจ้าไม่ได้ว่าเกิดอุบัติเหตุอะไร
-
การวินิจฉัย
- การซักประวัติอาการเเละอาการเเสดง
-
-
-
5.การเจาะเลือด ตรวจFBC,ตรวจปัสสาวะ,การตรวจการทำงานของตับเพื่อให้ทราบถึงระดับสติ,ตรวจเกร็ดเลือดที่เเสดงถึงภาวะเลือดออก,
-
-
กรณีศึกษา มีอาการเเรกรับคือ เรียกไม่รู้สึกตัว ประเมิน Glasgow coma scale ได้ E1V1M4 V/S ได้ ิBP = 203/113 PR = 98
RR = 18 ผล CT scan large amout of acute subdural hemorrhage with hematocrit level along right cerebral convexity,measuring up to 2.7 cm in thickness. Thin subdural hemorrhage along posterior falx cerebri and left tentorial cerelli.
คือมีเลือดออกขนาดใหญ่เฉียบพลันที่มีระดับฮีมาโตคริตตามแนวสมองซีกขวาซึ่งมีความหนาสูงสุด 2.7 ซม. การตกเลือดบางส่วนไปตามสมองส่วนหลังและซีเรล tentorial ด้านซ้าย
-
-