การศึกษาศตวรรษที่21
สังคมโลกและสังคมไทย
ในศตวรรษที่ 21
สังคมมีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลาและในยุคปัจจุบันสังคมมีอัตราการเปลี่ยนแปลงที่ รวดเร็วมากโดยมองว่าการเปลี่ยนแปลงของกระแสโลกจะเป็น การเปลี่ยนแปลงที่มีลักษณะ “ทั้งโลก” (Global) ไม่ว่าจะเป็นด้านเศรษฐกิจ สังคม การเมือง ฯลฯ จึงเรียกโลกยุคนี้ว่า ยุคดิจิทัลเปลี่ยนโลก นอกจากนี้แล้ว ยังถูกเรียกในชื่ออื่นๆอีกว่าเป็น “ยุคโลกไร้พรมแดน” หรือยุคโลกาภิวัตน์
การเปลี่ยนแปลง
สำคัญระดับโลก
กฎ กติกาใหม่ของโลกหลายด้านส่งผล
ให้ทุกประเทศต้องปรับตัว วิกฤตเศรษฐกิจ
การปรับตัวเข้าสู่เศรษฐกิจโลกแบบหลายศูนย์กลาง
การเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุของโลกอย่างต่อเนื่อง
สภาพภูมิอากาศแปรปรวนก่อให้เกิดภัยพิบัติ
ทางธรรมชาติบ่อยครั้งและทวีความรุนแรง
ความมั่นคงทางอาหารและพลังงานของโลก
มีแนวโน้มจะเป็นปัญหาสำคัญ
ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีมีบทบาทสำคัญ
ต่อการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม
การก่อการร้ายและอาชญากรรมข้ามชาติ
มีแนวโน้มขยายตัวทั่วโลกและรุนแรง
ข้อดี ✅
ข้อเสีย ❌
1) ทันสมัย (Modernization) – มองอนาคตอย่างมีวิสัยทัศน์
2) มีสัมพันธภาพ (Relationships) – สร้างมิตรภาพที่เข้มแข็งและยั่งยืน
3) ปรับตัว (Adaptability) – ตอบสนองความไม่แน่นอนได้รวดเร็ว
4) มุ่งมั่น (Assertiveness) - เข้าใจความขัดแย้ง จัดการด้วยสมอง
5) สร้างแรงบันดาลใจ (Inspiration) – ไม่บังคับแต่จูงใจสร้างแรงบันดาลใจ
6) ทะเยอทะยาน (Aspiration) - มุ่งสร้างความสำเร็จ
7) โปร่งใส (Transparency) - สร้างความไว้วางใจให้เกิดขึ้น
8) เป็นพี่เลี้ยง (Mentoring) – เป็นพี่เลี้ยงมากกว่าเป็นผู้สอน
9) ซื่อสัตย์ จริงใจ (Honesty) - ไม่โกหกหลอกลวง
10) มีพันธะรับผิดชอบ (Accountability) - คำนึงถึงคำมั่นสัญญาคำนึงถึงความหรือล้มเหลว
ปรับทิศทางหากไม่ถูกต้องหรือไม่บรรลุผล
1.มีความล่าช้าในการปฏิสัมพันธ์
2.การมีส่วนร่วมน้อย โดยผู้เรียนไม่สามารถมีส่วนร่วมทุกคน
3.หากผู้เรียนต้องไม่มีความรับผิดชอบต่อตนเองอย่างสูง
ในการเรียนการสอนแบบนี้อาจจะส่งผลเสียต่อผู้เรียนได้
4.ความแตกต่างของผู้เรียนแต่ละคนเป็นอุปสรรคในการเรียนการสอนแบบผสมผสาน
5.อาจก่อให้เกิดนิสัยการผัดวันประกันพรุ่ง
6.ขาดความสามารถด้านมนุษยสัมพันธ์
แนวทางการพัฒนา
2) การเรียนรู้แบบอะซิงโครนัส (Asynchronous learning) เป็น การเรียนรู้ที่ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ด้วยตนเองได้ตลอดเวลาตามที่ต้องการ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศมา ช่วยในการจัดการเรียนการสอนผู้เรียนและผู้สอนสามารถมีปฏิสัมพันธ์ได้หลายทางในเวลาที่ต่างกัน
1) การเรียนรู้แบบชิงโครนัส (Synchronous learning) เป็นการเรียนรู้ที่ มีการกำหนดเวลา สถานที่ บุคคลในการเรียนการสอน ใช้เทคโนโลยีมาช่วยสอน ผู้เรียนและผู้สอน สามารถที่ปฏิสัมพันธ์ได้ทันทีทันใด
การจัดการศึกษา
ในศตวรรษที่ 21
1.การเรียนรู้เพื่อรู้ (Learning to know)
2.การเรียนรู้เพื่อปฏิบัติได้ (Learning to do)
3.การเรียนรู้ที่จะอยู่ร่วมกัน (Learning to live together)
4.การเรียนรู้เพื่อชีวิต (Learning to be)
บุคคลที่มีคุณลักษณะในศตวรรษที่ 21
มีความรอบรู้ (Mastery) ในวิชาแกน
มีความรู้ในขอบข่ายของศตวรรษที่21
มีทักษะการเรียนรู้และนวัตกรรม
มีทักษะสารสนเทศ สื่อ และเทคโนโลยี
มีทักษะชีวิตและอาชีพ