Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การศึกษานอกระบบ (หลักการของ การศึกษานอกระบบ (หลักความเสมอภาคทางการศึกษา,…
การศึกษานอกระบบ
หลักการของ
การศึกษานอกระบบ
หลักความเสมอภาคทางการศึกษา
หลักการพัฒนาตนเองและการพึ่งพาตนเอง
หลักการบูรณาการการเรียนรู้กับวิถีชีวิต
หลักความสอดคล้องกับปัญหาความต้องการและความถนัดของผู้เรียน
หลักการเรียนรู้ร่วมกันและการมีส่วนร่วมของชุมชน
แนวทางการจัดการศึกษา
นอกระบบกระทรวงศึกษาธิการ
การศึกษาพื้นฐาน
การศึกษาเพื่อพัฒนาอาชีพ
การศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะชีวิต
การศึกษาเพื่อพัฒนาสังคมและชุมชน
กลุ่มเป้าหมาย
เพื่อการพัฒนา
คุณภาพชีวิต
ผู้ด้อยโอกาส
ผู้พิการหรือทุพพลภาพ
ผู้สูงอายุ
ชนต่างวัฒนธรรม
ประชาชนทั่วไปที่มีความสนใจใฝ่เรียนรู้
เพื่อการพัฒนาความสามารถ
ในเชิงการแข่งขันทางเศรษฐกิจ
ผู้อยู่ในวัยแรงงานที่อยู่นอกระบบ
ผู้อยู่ในวัยแรงงานที่อยู่ในระบบ
ความแตกต่างของการศึกษา
นอกระบบและในระบบ
การศึกษาในระบบ
เป็นการศึกษาที่มีรูปแบบและระบบแบบแผนชัดเจน มีการกำหนดวัตถุประสงค์ หลักสูตร วิธีการจัดการเรียนการสอน และการวัดผลที่แน่นอน
การศึกษานอกระบบ
เป็นการศึกษาที่มีความยืดหยุ่นและหลากหลายรูปแบบโดยมุ่งหมายให้เป็นการศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพของมนุษย์ มีการกำหนดจุดมุ่งหมาย หลักสูตร วิธีการเรียน การสอนสื่อ การวัดผลและการประเมินผลที่สอดคล้องกับสภาพปัญหาและความต้องการของกลุ่มเป้าหมาย
ข้อดี/ข้อเสีย
การศึกษานอกระบบ
ข้อดี :check:
เน้นความเสมอภาคให้โอกาสทางการศึกษา
ส่งเสริมการจัดการศึกษาอย่างต่อเนื่องตลอดชีวิตมีความยืดหยุ่นในเรื่องกฎเกณฑ์ระเบียบต่างๆ
4.มีอิสระทางการศึกษาสูง
5ผู้ที่พลาดโอกาสทางการเรียนสามารถกลับมาเรียนได้
3.ไม่จำกัดอายุในการศึกษา
ข้อเสีย :red_cross:
1.จะได้รับความรู้ในเฉพาะเรื่องที่สนใจเท่านั้น ความรู้ไม่ครอบคลุม
ครู กศน. ไม่ใช่ผู้สอนหลัก แต่จะเป็นเพื่อน เป็นที่ปรึกษาให้คำแนะนำ
3.มีเกณฑ์การวัดประเมินที่ไม่แน่นอน
4.ไม่มีการสอนที่ชัดเจน
ความสำคัญของ
การศึกษานอกระบบ
มุ่งเน้นให้ประชากรผู้ขาดโอกาสทางการศึกษาได้รับความเสมอภาคทางการศึกษา เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต ทั้งด้านการศึกษาต่อเนื่อง การฝึกอาชีพ การฝึกอบรม ในรูปแบบการศึกษานอกระบบต่าง ๆ โดยมุ่งเน้นให้เหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมายและสิ่งแวดล้อมของแต่ละบริบท
ความหมายของ
การศึกษานอกระบบ
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 มาตรา 15 ระบุว่า การศึกษานอกระบบ หมายถึง การศึกษาซึ่งจัดขึ้นนอกระบบปกติ ที่จัดให้กับประชาชนทุกเพศ ทุกวัย ไม่มีการจำกัดพื้นฐานการศึกษา อาชีพ ประสบการณ์หรือความสนใจ โดยมีจุดมุ่งหมายที่จะให้ผู้เรียนได้รับความรู้ในด้านพื้นฐานการ ดำรงชีวิต ความรู้ทางด้านทักษะ การประกอบอาชีพและความรู้ด้านอื่นๆ