Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Elderly pregnancy with Gestational Diabetes Mellitus Type A1…
Elderly pregnancy with Gestational Diabetes Mellitus Type A1
ข้อมูลพื้นฐาน ปฏิเสธการเจ็บป่วย
ผู้ป่วยหญิงไทยอายุ 37 ปี G4P2012 GA38^6 by date
LMP 2 มิถุนายน 2563
EDC by date 9 มีนาคม 2564
ส่วนสูง 165 เซนติเมตร
น้ำหนักก่อนการตั้งครรภ์ 78 กก. BMI 28.65 kg/m^2
น้ำหนักปัจจุบัน 89.1 กก.
ประวัติการเจ็บป่วย :ปฏิเสธการเจ็บป่วย
ประวัติครอบครัว : บิดามารดาเป็นเบาหวาน
พี่ชายของผู้ป่วยมีลูกแฝด
ประวัติการแพ้ : ปฏิเสธการแพ้
การผ่าตัด : เคยผ่าตัดบริเวณเท้า
ประวัติการตั้งครรภ์
ปี 2549 อายุครรภ์ 2เดือน Spontaneous Abortionไม่ขูดมดลูก
วันที่4 ต.ค.54 อายุครรภ์FT วิธีการคลอดNL
หญิง 3100 กรัม สถานที่คลอด รพ.ตำรวจ
สภาพทารกแข็งแรงดี
วันที่ 28 เม.ย.57 วิธีการคลอดFT
วิธีการคลอด NL เพศหญิง 3400กรัม
สถานที่คลอดรพ.ตำรวจ
สภาพทารกแข็งแรงดี
วัคซีนบาดทะยักเคยฉีดครบเมื่อปี พ.ศ. 2554
การตรวจร่างกาย
ตา👁👁 - conjunctiva ไม่ซีด
ช่องปาก👄 - มีฟันผุ2-3ซี่🦷 ไม่มีเลือดออกตามไรฟัน
ลำคอ🗣 - ไม่พบลำคอโต
เต้านม - หัวนมไม่บอดหรือบุ๋ม
หน้าท้อง - พบStriae gravidarum สีเงินเล็กน้อย
ขาและเท้า🦵🏻- กดบุ๋ม
การตรวจครรภ์
ท่าที่1 Fundal Grip : ระดับยอดมดลูก3/4 เหนือสะดือ
ท่าที่2 Umbilical Grip : ท่าROA
Large part อยู่ด้านขวามือของแม่
Small part อยู่ด้านซ้ายมือของแม่
ท่าที่3 Pawlik’s Grip : ส่วนนำเป็นศีรษะ และpartial engage
ท่าที่4 Bilateral inguinal Grip : ส่วนนำเป็นvertex
เสียงหัวใจของทารก[FHS]: 158 ครั้ง/นาที
ผลทางห้องปฏิบัติการ🧪🦠
Complete Blood Count🩸
(วันที่ 18/01/64)
วันที่(18/01/2564)
Hemoglobin(Hb) : 10.2 g/dL ค่าปกติ [12.3-15.5] 🔻
Hematocrit(Hct) : 31.9 ค่าปกติ[36.8-46.6]🔻
RBC : 3.51 10^6/uL ค่าปกติ [3.96-5.29] 🔻
WBC : 10.79 10^3/uL ค่าปกติ[4.24-10.18] 🔺
MCV : 89.7 fL ค่าปกติ[79.9-97.6] ⛔️
เคมีคลินิก🧪
Test (วันที่14/09/2563)
GlucoseToleranceTest 86 mg/dL Reference Range Specimen < 95
GlucoseToleranceTest 180 mg/dL Reference Range Specimen <180
GlucoseToleranceTest 143 mg/dL Reference Range Specimen <155
GlucoseToleranceTest 55 mg/dL Reference Range Specimen <140
Test (วันที่12/10/2563)
GlucoseToleranceTest 92 mg/dL Reference Range Specimen < 95
GlucoseToleranceTest 188 mg/dL Reference Range Specimen <180
GlucoseToleranceTest 192mg/dL Reference Range Specimen <150
GlucoseToleranceTest 122 mg/dL Reference Range Specimen <140
Test (26/10/2563)
Glucose(FBS) 88 mg/dL Reference Range Specimen <95
2 hr Postprandia 93 mg/dL Reference Range Specimen <120
Test (23/11/2563)
Glucose(FBS) 88 mg/dL Reference Range Specimen <95
2 hr Postprandia 93 mg/dL Reference Range Specimen <120
Test (21/12/2563)
Glucose(FBS) 89 mg/dL Reference Range Specimen <95
2 hr Postprandial 109 mg/dL Reference Range Specimen <120
Test (18/01/2564)
Glucose(FBS) 85 mg/dL Reference Range Specimen <95
2 hr Postprandial 101 mg/dL Reference Range Specimen <120
Test (15/02/2564)
Glucose(FBS) 85 mg/dL Reference Range Specimen <95
2 hr Postprandial 101 mg/dL Reference Range Specimen <120
ภูมิคุ้มกันวิทยา🦠
Test(18/01/2564)
VDRL(RPR) : Non-reactive
HBs Ag : Negative
HIV Ab : Negative
Test(02/09/2563)
ABO Group : A
Rh Group : Positive
IAT/Ab screening : Negative
พยาธิสภาพ🤰🏻
โรคเบาหวานเป็นภาวะที่มีความผิดปกติของเมตาโบลิซึมของคาร์โบไฮเดรต ทำให้มีน้ำตาลในเลือดสูงเพราะไม่สมดุลระหว่างความต้องการและการสร้าง เกิดภาวะดื้ออินซูลินหรือการใช้อินซูลิน กรณีที่มีการสร้างอินซูลินไม่เพียงพอหรือเกิดภาวะดื้อต่ออินซูลินร่างกายจะไม่สามารถนำกลูโคสไปใช้เพื่อสร้างพลังงานหรือเก็บสะสมในตับ กล้ามเนื้อเเละเซลล์ไขมัน ทำให้กลูโคสอยู่ในกระแสเลือดจำนวนมาก
ในระยะตั้งครรภ์ช่วงไตรมาสแรก ฮอร์โมนเอสโตรเจนและโปรเจสเตอโรนที่สร้างจากรกจะกระตุ้นให้มีการสร้างอินซูลินเพิ่มขึ้น ทำให้ระดับน้ำตาลลดลง ประกอบกับสตรีตั้งครรภ์ในระยะนี้มีอาการคลื่นไส้ อาเจียน เบื่ออาหาร รับประทานได้น้อยทำให้สตรีตั้งครรภ์ที่เป็นเบาหวานมีโอกาสเกิดภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำได้ง่ายกว่าปกติ
ส่วนในไตรมาสที่สองและสามของการตั้งครรภ์จะมีการหลั่งฮอร์โมนเพิ่มอีกหลายตัว ได้แก่ (HBL) คอร์ติโซน(Cortisol)โปรเเลคติน(Prolactin) ฮอร์โมนเหล่านี้ทำให้เกิดการดื้ออินซูลินทำให้มารดามีภาวะน้ำตาลในเลือดสูงและมีภาวะคีโตแอซิโดซีส
อาการและอาการแสดง🤰🏻
ปัสสาวะมาก(Polyuria)
ดื่มน้ำมาก(Polydipsia)
รับประทานอาหารจุ(Polyphagia)
น้ำหนักลด(Weight loss)
อ่อนเพลีย เหนื่อยง่าย คันตามตัว มีการติดเชื้อง่าย
เบาหวานที่วินิจฉัยครั้งแรกขณะตั้งครรภ์ (Gestational DM, GDM)
เป็นเบาหวานที่ได้รับการวินิจฉัยครั้งแรกขณะตั้งครรภ์ ซึ่งนับเป็นร้อยละ 90 ของเบาหวานที่พบในสตรีตั้งครรภ์ อาจจะเป็นเบาหวานที่เป็นมาก่อนการตั้งครรภ์แต่ไม่ได้รับการวินิจฉัย หรืออาจจะเป็นเบาหวานซึ่งปรากฏออกมาครั้งแรกเนื่องจากการตั้งครรภ์ สามารถแบ่งออกเป็น 2 ระดับความรุนแรง
Class A1 (glucose intolerance) พบได้ร้อยละ 90 รักษาด้วยการควบคุมอาหาร
Class A2 (DM) หมายถึงมี fasting hyperglycemia คือระดับน้ำตาลมากกว่า 105 มก./ดล. รักษาด้วยอินสุลิน
การตรวจคัดกรองสตรีตั้งครรภ์ที่มีความเสี่ยง
อายุมากกว่า 30 ปี
BMI มากกว่าหรือเท่ากับ27 กิโลกรัม/ตารางเมตร
ประวัติญาติสายตรงเป็นเบาหวาน
เคยคลอดบุตรและทารกเสียชีวิตในครรภ์โดยไม่ทราบสาเหตุที่แน่นอน
เคยคลอดบุตรที่มีน้ำหนักแรกเกิดตั้งแต่4กิโลกรัมขึ้นไป
เคยคลอดบุตรที่มีความพิการแต่กำเนิดโดยไม่ทราบสาเหตุที่แน่นอน
เคยเป็นโรคเบาหวานขณะตั้งครรภ์ในการตั้งครรภ์ครั้งก่อน
ตรวจพบน้ำตาลในปัสสาวะ
ความดันโลหิตสูง
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
ไตรมาสแรก
เสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อนจากการเป็นเบาหวานขณะตั้งครรภ์
ข้อมูลสนับสนุน
⛔️Notify⛔️
👵🏻หญิงตั้งครรภ์อายุ 37 ปี
Gestational Diabetes Mellitus Type A1
พบSugar +1 ในปัสสาวะ
วัตถุประสงค์
ไม่เกิดภาวะแทรกซ้อนจากการเป็นเบาหวานขณะตั้งครรภ์
เกณฑ์การประเมินผล
สัญญาณชีพ อยู่ในเกณฑ์ โดยเฉพาะBP < 140/90,HR 60-100 bpm
ไม่พบโปรตีนหรือน้ำตาลในปัสสาวะ
ทารกดิ้นดี 110-160 bpm
ผลการตรวจ NST ปกติ
กิจกรรมการพยาบาล
1.แนะนำให้มารดารับประทานอาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการ งดรับประทานอาหารที่มีไขมันและน้ำตาลสูง เช่นน้ำอัดลม ของทอด ของหวาน ให้เน้นโปรตีนเป็นหลัก รับประทานผักใบเขียว
2.แนะนำให้มารดาชั่งน้ำหนักทุกครั้งที่มาฝากครรภ์ เนื่องจากมารดามีBMI 28.65 เป็น BMIก่อนการตั้งครรภ์ซึ่งอยู่ในเกณฑ์ overweight ควรให้คำแนะนำว่าตลอดการตั้งครรภ์น้ำหนักควรขึ้นแค่ 5-9 kg.เพื่อให้มารดาควบคุมการรับประทานอาหารของตนเอง
3.แนะนำภาวะแทรกซ้อนท่ีอาจพบได้และให้หญิงตั้งครรภ์สังเกตอาการผิดปกติ เช่น คลื่นไส้อาเจียน มีไข้ ปัสสาวะแสบขัด เป็นต้น ถ้ามีอาการผิดปกติควรมารับการตรวจทันทีเพราะอาการต่างๆเหล่าน้ี อาจทำให้เกิดการควบคุมเบาหวานได้ไม่ดีพอ จึงทำให้เกิดภาวะแทรกซ้อนได้ง่าย
4.ติดตามค่า Fasting blood sugarและค่า2hr. Postprandial ทุกเดือนจนกว่าจะคลอด
มีโอกาสเกิดภาวะแทรกซ้อนเนื่องจากหญิงตั้งครรภ์เมีอายุมาก
ข้อมูลสนับสนุน
มารดามีอายุ 37 ปี
⛔️ Notify Elderly Pregnancy
วัตถุประสงค์
ไม่เกิดภาวะแทรกซ้อนจากการตั้งครรภ์เมื่อมีอายุมาก
เกณฑ์การประเมินผล
สัญญาณชีพอยู่ในเกณฑ์ปกติโดยเฉพาะ BP<140/90,HR 60-100 bpm
ไม่พบโปรตีนและน้ำตาลในปัสสาวะ
ผลตรวจAmniocentesis ปกติไม่พบความผิดปกติของทารก
ไม่เกิดภาวะรกเกาะต่ำ (Placenta previa)
ทารกดิ้นดี
FHS 110-160 bpm
กิจกรรมการพยาบาล
ประเมินสัญญาณชีพโดยเฉพาะ BP,HR เพื่อประเมินภาวะความดันโลหิตสูง เนื่องจากมารดาที่มีอายุมากจะเพิ่มความเสี่ยงที่จะทำให้เกิดความดันโลหิตสูงได้มาก
ตรวจคัดกรองเบาหวาน โดยจะคัดกรอง Bs 50 gm. เมื่อมาฝากครรภ์ครั้งแรก หากผลเป็นปกติจะนัดมาตรวจอีกครั้ง เมื่ออายุครรภ์ 24-28 Wks. แต่หากค่า Bs 50 gm.>120 gm/dL จะนัดตรวจOGTT อีกครั้ง ภายใน1-2 Wks. ซึ่งหากมีค่าผิดปกติจะบ่งบอกถึงการเป็นเบาหวาน
ให้คำแนะนำมารดาเกี่ยวกับการตรวจคัดกรองดาวน์ซินโดรมและความผิดปกติของโครโมโซม เนื่องจากความเสี่ยงจะเพิ่มขึ้นตามอายุของสตรีตั้งครรภ์ โดยการเจาะน้ำคร่ำจะตรวจได้ก็ต่อเมื่อหญิงตั้งครรภ์มีอายุครรภ์ 16-18 Wks.และเป็นการตรวจเพื่อดูโครโมโซมและตรวจดูความผิดปกติของทารก
แนะนำมารดาให้รับประทานวิตามินที่ได้รับ ได้แก่ Folic acid , Cal tab , Iodine , Natarolอย่างสม่ำเสมอ
ติดตามผลการตรวจอัลตราซาวด์เพื่อประเมินความผิดปกติของทารก เช่น ความผิดปกติของโครงสร้างของทารกภายในครรภ์ ความผิดปกติของลำไส้ ปากแหว่งเพดานโหว่ การตรวจดูปริมาณน้ำคร่ำ รวมถึงความผิดปกติของรกด้วย
ไตรมาสที่2
ข้อวินิจฉัยข้อที่1 : ส่งเสริมความรู้เกี่ยวกับเบาหวานขณะตั้งครรภ์เนื่องจากหญิงตั้งครรภ์เป็น GDM A1
ข้อมูลสนับสนุน
👵🏻หญิงตั้งครรภ์อายุ 37 ปี
Gestational Diabetes Mellitus Type A1
มีการเปลี่ยนแปลงทางพยาธิสภาพของหญิงตั้งครรภ์
วัตถุประสงค์ : มารดามีความเข้าใจในการดูแลตนเอง
เกษฑ์การประเมิน
มารดามีการนับลูกดิ้นทุกวันตามคำแนะนำของพยาบาล โดยบันทึกลงสมุดหรือแอพพลิเคชั่น
มารดารับประทานอาหารได้ถูกต้องและน้ำหนักเป็นไปตามเกณฑ์
มารดาสามารถอธิบายอาการสำคัญที่ต้องรีบมาโรงพยาบาลได้
กิจกรรมการพยาบาล
1.แนะนำมารดาในการนับลูกดิ้นทุกวัน โดยการนับหลังรับประทานอาหารเช้า กลางวัน เย็น เป็นเวลา1 ชม. ลูกต้องดิ้นอย่างน้อย3ครั้ง รวมกัน3มื้อต้องดิ้นไม่น้อยกว่า10ครั้งจึงถือว่าปกติ และหากมีอาการผิดปกติ เช่น ลูกไม่ดิ้น หรือลูกดิ้นน้อยลง ให้รีบมาพบแพทย์
หลังจากที่ให้มารดาไปพบนักโภชนาการเรื่องการรับประทานอาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการแล้ว ให้ถามมารดาเพื่อเป็นการทวนความเข้าใจ เช่นเรื่องการ
งดรับประทานอาหารที่มีไขมันและน้ำตาลสูง เช่นน้ำอัดลม ของทอด ของหวาน ให้เน้นโปรตีนเป็นหลัก รับประทานผักใบเขียวและคาร์โบไฮเดรตเช่นข้าว ควรรับประทานข้าวกล้องแทนข้าวขาว
3.ส่งเสริมพัฒนาการทารกในครรภ์โดยแนะนำให้หญิงตั้งครรภ์พูดคุยกับทารกในครรภ์หรือเปิดเพลงเบาๆช้าๆเพื่อเป็นการพัฒนาการทางสมองของทารก
4.ติดตามค่า Fasting blood sugarและค่า2hr. Postprandial ทุกเดือนจนกว่าจะคลอด
ไตรมาสที่3
ข้อวินิจฉัยการพยาบาลข้อที่1 : ให้คำแนะนำมารดาตั้งครรภ์ไตรมาสที่3
ข้อมูลสนับสนุน
มารดา GA 38^6 wks
มารดายังไม่ค่อยเข้าใจถึงการรับประทานอาหารว่าควรทานอย่างไร
วัตถุประสงค์
มารดามีความรู้ ความเข้าใจ ในการดูแลตนเอง
เกณฑ์การประเมินผล
มารดาสามารถอธิบายอาการสำคัญที่ต้องรีบมาโรงพยาบาลได้
มารดสามารถอธิบายพฤติกรรมการดูแลตนเองได้
กิจกรรมการพยาบาล
1.ประเมินความรู้ ความเข้าใจของมารดาในการปฏิบัติตนในไตรมาส3 โดยการพูดคุยและซักถามมารดา
2.ให้คำแนะนำมารดาในการดูแลตนเอง เพื่อป้องกันการติดเชื้อในร่างกาย เช่นระบบทางเดินอาหาร ระบบปัสสาวะ เพราะการติดเชื้อในร่างกายจะส่งผลให้มารดาเจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนด แนะนำให้มารดาทำคสามสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์ทุกครั้งหลังเข้าห้องน้ำ โดยทำความสะอาดจากข้างหน้าไปข้างหลังเเละซับให้แห้ง เพื่อป้องกันการอับชื้นและลดการสะสมของเชื้อแบคทีเรีย
3.แนะนำมารดาในการนับลูกดิ้นทุกวัน โดยการนับหลังรับประทานอาหาร เช้า กลางวัน เย็นเป็นเวลา1ชม. ลูกดิ้นอย่างน้อย 3 ครั้ง รวมกัน3มื้อต้องดิ้นไม่น้อยกว่า10ครั้ง/วัน จึงถือว่าปกติและหากมีอาการผิดปกติ เช่น ลูกไม่ดิ้นหรือลูกดิ้นน้อยลงให้มาพบแพทย์
4.แนะนำเรื่องอาการเจ็บครรภ์จริงเนื่องจากหญิงตั้งครรภ์ใกล้คลอด อาการเจ็บครรภ์จริ
คืออาการที่แสดงถึงทารกใกล้คลอด มีอาการเจ็บครรภ์ทุกๆ10-15 นาทีเป็นจังหวะสม่ำเสมอ
มีคสามรุนแรงของการหดรัดตัวของมดลูก ปวดบริเวณหลังร้าวไปที่หน้าท้องส่วนบนแล้วแล้วร้าวลงขา อาการเจ็บครรภ์ไม่หายไปแม้เทคนิคการผ่อนคลาย มีมูกเลือดหรืออาการเลือดออกทางช่องคลอด มีอาการเปิดของปากมดลูกและมีการเคลื่อนต่ำของทารก หากมีน้ำเดินลักษณะเป็นน้ำใสๆไหลออกทางช่องคลอด ไม่สามารถกลั้นได้เหมือนปัสสาวะ
คำแนะนำ
มารดามาตามแพทย์นัด อายุครรภ์38^6 ซึ่งเป็นไตรมาส3
1.อาหารเพิ่มอาหารประเภทโปรตีน ผักใบเขียวและอาหารที่มีแคลเซียม
2.การฝากครรภ์ นัดตรวจบ่อยขึ้นตรวจปัสสาวะเพื่อดูระดับน้ำตาลและโปรตีนในปัสสาวะ ติดตามอาการบวม
3.การดูแลเต้านม ในการอาบน้ำไม่ควรฟอกสบู่บริเวณหัวนมมากนักเพราะจะชะล้างไขมันบริเวณนั้น และทำให้หัวนมแห้งแตก