Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
image (กรอบยุทธศาสตร์ระยะ 20 ปี (พ.ศ.2560-2579) (1.ความมั่นคง, 2…
การจัดการศึกษา 4.0
กับการพัฒนาประเทศที่ยั่งยืน
ทักษะและคุณลักษณะที่เหมาะสม
• การคิดวิเคราะห์ (analytic thinking)
• การคิดอย่างมีวิจารณญาณ (critical thinking)
• การคิดสร้างสรรค์(creative thinking)
ต้องมีความคิดรับผิดชอบ (Responsibility thinking)
ยุคการศึกษา 4.0
การเรียนการสอนมุ่งสอนให้ผู้เรียน สามารถนำองค์ความรู้ที่มีอยู่ทุกหนทุกแห่งบนโลกนี้ มาบูรณาการเชิงสร้างสรรค์ เพื่อพัฒนานวัตกรรมต่างๆ เพื่อตอบสนองความต้องการของสังคม
เน้นแสวงหาการเรียนรู้ได้เอง
สร้างสรรค์ความรู้ใหม่
ต่อยอดความรู้เดิม
การจัดการศึกษาที่ก่อให้เกิด
การทำงานร่วมกันบนไซเบอร์
เป็นแนวคิดตามความพยายามของรัฐบาลที่มีความมุ่งมั่นในการนำ “โมเดล ประเทศไทย 4.0” หรือ “Thailand4.0”มาใช้ เพื่อผลักดันประเทศให้หลุดพ้นจากประเทศที่มีรายได้ปานกลางไปสู่ประเทศที่มีรายได้สูง
ทิศทางในการสร้าง
เด็กยุคไทยแลนด์ 4.0
สร้างเด็กและเยาวชนไทยให้มีความรู้ความสามารถ
มีทักษะในการประยุกต์ให้เข้าถึงเทคโนโลยีและนวัตกรรมใหม่ๆ
สร้างความคิดของเด็กและเยาวชนไปสู่ที่ยากขึ้น
พัฒนาทั้งด้านความรู้ และทักษะการเรียนรู้
กรอบยุทธศาสตร์ระยะ 20 ปี
(พ.ศ.2560-2579)
1.ความมั่นคง
2.การสร้างความสามารถในการแข่งขัน
3.การลงทุนในทรัพยากรมนุษย์
4.การสร้างโอกาสความเสมอภาคและการลดความเหลื่อมล้ำทางสังคม
5.การสร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
6.การปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ
ทิศทางในการพัฒนาประเทศไทย
ด้านเศรษฐกิจ
• ประเทศไทย 1.0 เน้นการเกษตรเป็นหลัก
• ประเทศไทย 2.0 เน้นอุตสาหกรรม
แต่เป็นอุตสาหกรรมเบา
• ประเทศไทย 3.0 เป็นอุตสาหกรรมหนักและ
การส่งออก เช่น อุตสาหกรรมยานยนต์
• ประเทศไทย 4.0 เป็นยุคเทคโนโลยี Creative และ Innovation
เน้นการสร้างให้คนไทยสามารถคิดเองได้
การพัฒนาการศึกษาภายใต้กรอบ
ประเทศไทย 4.0 สู่ศตวรรษที่ 21
การเรียนแบบบูรณาการสหวิชาการ
การสร้างกระบวนการเรียนรู้ให้ผู้เรียนอยากเรียน
ครูเปลี่ยนจากครูสอนเป็นพี่เลี้ยง