Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การประยุกต์ใช้ ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ในสถานศึกษาระดับต่าง ๆ :check: …
การประยุกต์ใช้
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ในสถานศึกษาระดับต่าง ๆ
:check: :recycle: :star:
2.1 ความรู้พื้นฐานในการบริหารสถานศึกษา :smiley:
2.1.1 ความหมาย :pen:
การบริหาร หมายถึง กิจกรรมต่าง ๆ ที่บุคคลตั้งแต่สองคนขึ้นไปร่วมมือกันดำเนินการ เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์อย่างหนึ่งอย่างใดหรือหลายๆอย่างที่บุคคลร่วมกันกำหนดโดยใช้กระบวนอย่างมีระบบและให้ทรัพยากรตลอดจนเทคนิคต่าง ๆ อย่างเหมาะสม
การจัดการ หมายถึง การทำให้กลุ่มบุคคลในองค์กรเข้ามาทำงานร่วมกันเพื่อบรรลุวัตถุประสงค์ร่วมกันขององค์กร
สถานศึกษา หมายถึง หน่วยงานตามกฎหมายที่มีหน้าที่หรือมีวัตถุประสงค์ในการจัดการศึกษา ไม่ว่าจะเป็นของภาครัฐหรือภาคเอกชน เช่น โรงเรียน วิทยาลัย มหาวิทยาลัย หรือ หน่วยงานการศึกษาอื่น ๆ โดยมีผู้บริหารสถานศึกษารับผิดชอบการบริหารสถานศึกษาและบริหารครูให้ทำหน้าที่หลักด้านการเรียนการสอนและส่งเสริมการเรียนรู้ของผู้เรียน
การบริหารและการจัดการสถานศึกษา หมายถึง กระบวนการในการทำงานโดยมีผู้บริหารสถานศึกษาปฏิบัติภารกิจอย่างเป็นระบบในสถานศึกษาที่ดำเนินการ การบริหารงานในสถานศึกษาเป็นกระบวนการดำเนินงานของกลุ่มผู้บริหารเพื่อต้องการพัฒนาหรือให้บริการทางการศึกษาแก่สมาชิกในสังคม ให้เป็นไปตามจุดมุ่งหมายของหลักสูตร ผู้บริหารสถานศึกษาเป็นบุคคลสำคัญที่มีบทบาทและมีอำนาจหน้าที่ในการบริหารจัดการสถานศึกษาให้บรรลุวัตถุประสงค์ตามเป้าหมายที่องค์การได้กำหนดไว้และสามารถบริการทางการศึกษาแก่สังคมได้เป็นอย่างดี
2.1.2 หลักการบริหารและจัดการสถานศึกษา :pen:
ด้านการบริหารงานวิชาการ
ด้านการบริหารงานงบประมาณ
ด้านการบริหารงานบุคคล
ด้านการบริหารงานทั่วไป
2.2 หลักการนำปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในการบริหารสถานศึกษา :smiley:
การจัดการศึกษาตามแนวทางปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
:pen:
การพัฒนาคนอย่างรอบด้านและสมดุลเพื่อเป็นฐานหลักของการพัฒนา
สร้างสังคมไทยให้เป็นสังคมคุณธรรม ภูมิปัญญาและการเรียนรู้
พัฒนาสิ่งแวดล้อมของสังคมเพื่อเป็นฐานในการพัฒนาคน และสร้างสังคมคุณธรรม ภูมิปัญญาและการเรียนรู้
การประยุกต์ใช้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในสถานศึกษา
:pen:
การบริหารจัดการสถานศึกษาต้องกำหนดเป็นนโยบาย
ด้านหลักสูตรการเรียนการสอน
ด้านกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ลักษณะของกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
กำหนดกลไกลส่งเสริมให้ครูมีแนวคิดและดำเนินชีวิตสอดคล้องกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
พัฒนาแนวทางดำเนินชีวิตอย่างพอเพียงของครู โดยมุ่งเน้นให้ครูหันมาดำเนินชีวิต ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง จนสามารถเป็นแบบอย่างให้ผู้เรียน
กำหนดหลักสูตรเศรษฐกิจพอเพียงในสถานบันอุดมศึกษาที่ผลิตครู สถาบันอุดมศึกษาที่เปิดสอนในสาขาศึกษาศาสตร์ ควรมีวิชาที่เกี่ยวกับเศรษฐกิจพอเพียงรวมอยู่ด้วย
สร้างเครือข่ายและใช้ประโยชน์ การสร้างเครือข่ายเป็นกลไกหนึ่งที่สามารถนำมาใช้ ประโยชน์ในการพัฒนาการเรียนการสอนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
สร้างเครือข่ายระหว่างสถานศึกษาด้วยตนเอง การสร้างเครือข่ายช่วยระหว่าง สถานศึกษา
สร้างเครือข่ายระหว่างสถานศึกษากับชุมชน
2.3 องค์กรที่บริหารงานตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง :smiley:
วิถีบางจากตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง :pen:
กลยุทธ์มุ่งความยั่งยืน :pen:
บริษัทฯให้ความสำคัญต่อการเติบโตอย่างยั่งยืนขององค์กร ยกระดับความเป็นเลิศในการบริหารจัดการสู่ระดับมาตรฐานโลก พร้อมน้อมนำ“ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” มาประยุกต์ใช้ในการดำเนินธุรกิจ ที่การได้มาซึ่งกำไรจะไม่เป็นการแสวงหา กำไรจนเกินควร ตลอดจนคำนึงถึงการใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างรู้คุณค่า บริหารจัดการธุรกิจเพื่อให้บรรลุถึงวิสัยทัศน์องค์กร
มุ่งสู่กลุ่มธุรกิจ “นวัตกรรมสีเขียวชั้นนำในเอเชีย ที่มีธรรมมาภิบาลที่ดีและดำเนินธุรกิจด้วยแนวทางแบบมีส่วนร่วมและยั่งยืน” หรือ “Evolving Greenovation” ตลอดจนเป้าหมายทางธุรกิจ สิ่งแวดล้อมและสังคม
ยุทธศาสตร์ 3S :pen:
Security
Stability
Sustainability
3.2 Green Production
3.3 Greenovative Experience
3.1 Green Business
3.4 Green Society
หลักการและกรอบแนวคิดด้านความยั่งยืน
:pen:
การกำกับดูแลกิจการที่ดี
การผลิตสินค้าและบริการด้วยความรับผิดชอบและส่งเสริมสังคมยั่งยืน
การจัดการน้ำและสภาพภูมิอากาศ
สิทธิมนุษยชนและการจ้างงานเพื่อขับเคลื่อนเศรษฐกิจอย่างยั่งยืน
การประกอบธุรกิจด้วยความเป็น
การมีส่วนร่วมพัฒนาคุณภาพการศึกษา
การลงทุนธุรกิจพลังงานสะอาด
การมีส่วนร่วมพัฒนาชุมชน สังคมและส่งเสริมนวัตกรรมยั่งยืน
นโยบายความปลอดภัย มั่นคง อาชีวอนามัย สิ่งแวดล้อม และพลังงาน
:pen:
ปฏิบัติตามกฎหมายและภาระผูกพันที่เกี่ยวข้อง
ปฏิบัติงานอย่างปลอดภัยในทุกขั้นตอนและกระบวนการทำงาน
ปฏิบัติงานตามหลักวิศวกรรมภายใต้กรอบการใช้งานของสินทรัพย์อย่างเคร่งครัด