Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Vital Signs
AD969018-35E2-4D32-AAEF-67BB943828AE (Body Temperature
…
Vital Signs
Body Temperature
-
-
-
-
-
ผลกระทบของการมีไข้
-
-
-
-
การเผาผลาญของร่างกาย
ในระหว่างมีไข้ กระบวนการเผาผลาญของเซลล์เพิ่มขึ้นทำให้เกิดการสูญเสียพลังงานสำรอง ทำให้อ่อนเพลีย ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ ถ้าเซลล์ได้รับออกซิเจนไม่เพียงพอจะทำให้ขาดออกซิเจน (Cellular hypoxia)
-
Pulse
วิธีการวัดชีพจร
-
-
3.ใช้นิ้วชี้ นิ้วกลางคลำที่หลอดเลือด โดยปกติจุดที่ใช้คลำชีพจรอยู่ที่บริเวณข้อมือด้านหน้าที่ร่องด้านนิ้วหัวแม่มือ หรือคลำชีพจรอยู่ที่บริเวณข้อศอกด้านนิ้วก้อย เป็นจุดที่สะดวกเพราะเป็นที่ที่จับได้ง่ายและไม่รบกวนผู้ป่วย
- การนับชีพจรให้นับจังหวะการเต้นของหลอดเลือดที่กระทบนิ้วในเวลา 1 นาที จะได้ค่าของชีพจร
การประเมินชีพจร
ความหมาย
เป็นแรงสะเทือนของกระแสเลือด ซึ่งเกิดจากการบีบตัวของหัวใจห้องล่างด้านซ้าย ทำให้ผนังของหลอดเลือดแดงขยายออกเป็นจังหวะ
ถ้าใช้นิ้วมือกดเส้นเลือดไว้จะรู้สึกเส้นเลือดมีการเต้นเป็นจังหวะ (Pulsation) จังหวะการเต้นของเส้นเลือดจะสัมพันธ์กับการเต้นของหัวใจ
ตำแหน่งการจับชีพจร
-
-
-
Radial อยู่ข้อมือด้านในบริเวณกระดูกปลายแขนด้านนอกหรือด้านหัวแม่มือ เป็นตำแหน่งที่นิยมจับชีพจรมากที่สุด เพราะเป็นที่ที่จับได้ง่ายและไม่รบกวนผู้ป่วย
-
Popliteal อยู่บริเวณข้อพับเข่า อยู่ตรงกลางข้อพับเข่า, หาค่อนข้างยาก แต่ถ้างอเข่าก็สามารถคลำได้ง่ายขึ้น
-
Dorsalis pedis อยู่บริเวณหลังเท้าให้ดูตามแนวกลางตั้งแต่หัวเข่าลงไป ชีพจรที่จับได้จะอยู่กลางหลังเท้าระหว่างนิ้วหัวแม่เท้ากับนิ้วชี้
-
-
ค่าชีพจร
ชีพจรที่ปกติ
โดยปกติ ผู้ใหญ่จะมีชีพจรเต้น 60-100 ครั้ง/นาที แต่ผู้ที่ีสุขภาพแข็งแรงหรือนักกีฬามักมีชีพจรต่ำ โดยอาจมีอัตราการเต้นของหัวใจขณะพักอยู่ที่เพียง 40-60 ครั้ง/นาที
-
-
Respiration
การหายใจปกติ (Eupnea)
การหายใจที่เป็นธรรมชาติ สะดวกไม่มีเสียง รูปแบบการหายใจ จะเกี่ยวข้องกับ อัตรา ปริมาตร จังหวะ และกล้ามเนื้อที่ข่วยในการหายใจ
-
การหายใจผิดปกติ
รูปแบบการใจที่มีอัตรา ความลึก จังหวะ การใช้กล้ามเนื้อช่วยหายใจและการเคลื่อนไหวของทรวงอกผิดไปจากรูปเดิม ซึ่งส่งผลต่อการแลกเปลี่ยนเเก๊ส
-
Blood pressure
-
-
-
-
Pain
-
ระดับความเจ็บปวด
นิยมใช้ระดับความเจ็บปวด 0-10 คะแนน
-
-
-
-
-
-
-
-
-
การซักประวัติ
-
-
-
Pain Severity : ความรุนแรงของอาการเจ็บปวด ผู้ให้การรักษาควรวัดความรุนแรงอย่างละเอียดและต่อเนื่อง เป็นการบอกผลของการรักษา
Duration and Frequency or Temporal Pattern of Pain : ระยะเวลาในการปวด ช่วยให้เกิดความเข้าใจในการปวดได้ดีขึ้น เช่น Somatic Pain คือ ปวดตลอดเวลา
-
Relieving factor : ปัจจัยที่ทำให้ปวดน้อยลง เช่น ประคบร้อน,เย็น
ถ้าผู้ป่วยได้รับยาระงับปวดมาก่อน ต้องบันทึกลักษณะและชนิดของยา
-
-