Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ปัญหาทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมระดับโลก (การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติตามปรัชญาเ…
ปัญหาทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมระดับโลก
การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปัญหา
ผู้คนไม่ทำตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง คือ หลัด 3 ห่วง 2 เงื่อนไข
แนวทางในการป้องกันแก้ไข
ผู้คนควรปฏิบัติตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
สาเหตุ
โลกร้อนเกิดจากการที่มีแก๊สเรือนกระจกในบรรยากาศมากเกินไป แก๊สเรือนกระจกตัวหนึ่งที่สำคัญ ได้แก่ คาร์บอนไดออกไซด์ ซึ่งเกิดจากการเผาไหม้เชื้อเพลิงเพื่อใช้งาน
ผลกระทบ
ระดับน้ำทะเลเพิ่มสูงขึ้น
มีความเสี่ยงมากขึ้นที่จะเกิดสภาพอากาศรุนแรง
ระบบทางธรรมชาติ จะถูกคุกคามอย่างรุนแรง
สัตว์สายพันธุ์ต่างๆ เสี่ยงต่อการสูญพันธุ์มากขึ้น
ปัญหา
หมายถึงการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิในทุกช่วงเวลาของโลก รวมทั้งเหตุการณ์ปรากฏการณ์โลกเย็นด้วย โดยทั่วไป คำว่า "ภาวะโลกร้อน" จะใช้ในการอ้างถึงสภาวะที่อุณหภูมิของโลกร้อนขึ้นในช่วงไม่กี่ทศวรรษที่ผ่านมา และมีความเกี่ยวข้องกระทบต่อมนุษย์
แนวทางในการป้องกันแก้ไข
ใช้ไฟฟ้าอย่างประหยัด
เปลี่ยนไปใช้ไฟแบบหลอด LED จะได้ไฟที่สว่างกว่าและประหยัดกว่าหลอดปกติ 40%
ลดใช้พลาสติก โดยเลือกใช้ของที่สามารถนำมารีไซเคิลได้ เช่น กระเป๋าผ้า หรือกระติกน้ำ
ใช้รถสาธารณะ แทนรถส่วนตัว
ปรากฏการณ์เรือนกระจก
ผลกระทบ
ก๊าซเรือนกระจกที่ถูกปล่อยออกมามหาศาลจากชั้นดินเยือกแข็ง และป่าที่กำลังตาย
ระดับน้ำทะเลเพิ่มสูงขึ้นเนื่องจากธารน้ำแข็งที่งละลาย
ก๊าซเรือนกระจกสามารถส่งผลกระทบโดยตรง คือทำให้โลกมีพลังงานความร้อนสะสมอยู่บนผิวโลกและชั้นบรรยากาศมากขึ้น อันเป็นต้นเหตุให้พื้นผิวโลกมีอุณหภูมิสูงขึ้น ผลที่ตามมาก็คือการเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อม
แนวทางในการป้องกันแก้ไข
ลดการใช้พลังงานที่ไม่จำเป็นจากเครื่องใช้ไฟฟ้า
ลือกใช้ระบบขนส่งมวลชน
ช่วยกันปลูกต้นไม้
สาเหตุ
สาเหตุที่ทำให้เกิดภาวะเรือนกระจก ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) เป็นก๊าซที่สะสมพลังงานความร้อนในบรรยากาศโลกไว้มากที่สุดและมีผลทำให้ อุณหภูมิของโลกสูงขึ้นมากที่สุดในบรรดาก๊าซเรือนกระจกชนิดอื่นๆ CO2ส่วนมากเกิดจากการกระทำของมนุษย์เช่น ก๊าซที่ก่อให้เกิดปรากฏการณ์เรือนกระจก คาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) เกิดจากการเผาไหม้ต่าง ๆ
ปัญหา
ขบวนการที่รังสีความร้อนจากพื้นผิวโลกจะถูกดูดซับโดยก๊าซเรือนกระจกในชั้นบรรยากาศ และแผ่รังสีออกไปอีกครั้งในทุกทิศทาง
ปรากฏการณ์เอลนีโญ ลานีญา
เอลนีโญ
เป็นปรากฏการณ์ที่อุณหภูมิมหาสมุทรอุ่นขึ้นผิดปกติ ประกอบกับความดันบรรยากาศสูงบริเวณมหาสมุทรแปซิฟิกด้านตะวันตก
ลานีญา
เป็นปรากฏการณ์ที่อุณหภูมิมหาสมุทรเย็นลงผิดปกติ ประกอบกับความดันบรรยากาศต่ำบริเวณมหาสมุทรแปซิฟิกด้านตะวันตก
ผลกระทบ
ปรากฏการณ์เอลนิโน ทำให้มหาสมุทรแปซิฟิกด้านตะวันออก มีความชุ่มชื้นกว่าปกติจนเกิดเป็นอุทกภัย ในขณะที่มหาสมุทรแปซิฟิกด้านตะวันตก เกิดความแห้งแล้ง โดยอุณหภูมิที่เพิ่มขึ้น 1OC บนมหาสมุทรจะเพิ่มความรุนแรงให้แก่เฮอริเคนที่เกิดขึ้นในแถบอิเควเตอร์แต่มันก็มีข้อดีบางประการเช่นช่วยลดความรุนแรงและจำนวนครั้งของการเกิดเฮอริเคนแห่งแอตแลนติกในแอตแลนติกเหนือ และทอร์นาโด ในตอนกลางของประเทศสหรัฐอเมริกา
ปรากฏการณ์ลานินาทำให้มหาสมุทรแปซิฟิกด้านตะวันตกมีความชุ่มชื้นกว่าปกติจนเกิดเป็นอุทกภัย ในขณะที่มหาสมุทรแปซิฟิกด้านตะวันออกเกิดความแห้งแล้ง
รูโหว่โอนโซน
สาเหตุ
ช่องโหว่โอโซนคือ ปรากฏการณ์ที่ปริมาณโอโซนในบรรยากาศชั้นสทราโทสเฟียร์ลดลง สาเหตุที่โอโซนถูกทำลายเกิดจาก คลอรีนซึ่งมาจากการใช้สาร CFC และปฏิกิริยาลูกโซ่ของออกไซด์ของไนโตรเจน ปฏิกิริยานี้จะเกิดอย่างรวดเร็วบนอนุภาคน้ำแข็ง ทำให้ทวีปแอนทาร์กทิกที่มีอุณหภูมิต่ำกว่าลบ 80 องศาเซลเซียส มีปริมาณโอโซนลดลงอย่างรวดเร็ว ผลของการลดลงของโอโซนทำให้การเกิดมะเร็งผิวหนังมีมากขึ้น
แนวทางในการป้องกันแก้ไข
1.ลดปริมาณมลสารที่ทำให้อากาศเสีย เช่น ฝุ่นละอองและสารพิษ
ลดปริมาณก๊าซเรือนกระจก เช่น ไม่เผาป่า ฟางข้าว หรือขยะมูลฝอยเพื่อลดปริมาณก๊าซ คาร์บอนไดออกไซด์ แก้ไขรถควันดำ เพื่อลดปริมาณก๊าซคาร์บอน-มอนอกไซด์
3.อนุรักษ์ป่าไม้เพื่อช่วยลดปัญหาอากาศเสียและวาตภัย ทั้งนี้ เพราะต้นไม้จะใช้ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ เพื่อการสังเคราะห์แสง การมีต้นไม้มากจึงช่วยลดปัญหาภาวะเรือน
ฝนกรด
สาเหตุ
ฝนกรดเป็นผลมาจากก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์ และไนโตรเจนออกไซด์ โดยก๊าซทั้งสองชนิดนี้มักจะเกิดจากการเผาผลาญเชื้อเพลิงฟอสซิล เช่น ถ่านหิน ก๊าซธรรมชาติ และน้ำมัน ก๊าซทั้งสองชนิดนี้จะทำปฏิกิริยากับน้ำ และสารเคมีอื่น ๆ ในชั้นบรรยากาศเพื่อก่อให้เกิดกรดซัลฟิวริก , กรดไนตริก และสารมลพิษอื่น ๆ ก๊าซเหล่านี้มักจะทำปฏิกิริยากับสารเคมีจะส่งผลทำให้อากาศอบอ้าวอากาศร้อนชื้นทำให้เกิดมลพิษทางอากาศเมื่อไปโดนกับออกซิเจนอาจถูกกระแสลมพัดพาไปหลายร้อยกิโลเมตร และมักจะกลับสู่พื้นโลกโดยฝน
ผลกระทบ
ต่อสิ่งมีชีวิต
ฝนกรดจะทำการละลายและพัดพาปุ๋ยและสารอาหารที่จำเป็นในการเจริญเติบโตของต้นไม้ไป นอกจากนี้แล้วอาจจะยังละลายสารพิษอื่น ๆ ที่มีอยู่ทั่วไปในดิน เช่นอะลูมิเนียม และปรอท โดยพัดพาสารเหล่านี้ลงไปในแหล่งน้ำ ก่อให้เกิดอันตรายกับระบบนิเวศในน้ำต่อไป
ต่อการเกษตร
เมื่อฝนกรดตกลงมาจะทำให้พืชผล ส่วนมากตายลง เนื่องจากพืชไม่สามารถสังเคราะห์แสงได้
ต่อแหล่งน้ำ
เมื่อฝนกรดตกลงมาและถูกดูดซึมลงสู่แหล่งน้ำต่าง ๆ จะทำให้ น้ำบริสุทธิ์ในธรรมชาติทั่วไป มักจะเป็นกรดอ่อน ๆ หรือเบสอ่อน ๆ โดยค่า pH จะอยู่ที่ประมาณ 6 – 8 อย่างไรก็ตามฝนกรดอาจทำให้ค่า pH ในแหล่งน้ำบางแหล่งลดลงต่ำกว่านั้น ก่อให้เกิดปัญหาต่อสิ่งมีชีวิตในแหล่งน้ำนั้น ๆ รวมไปถึงความสามารถในการละลายออกซิเจนในน้ำที่ลดน้อยลง เมื่อน้ำไม่สามารถละลายออกซิเจนไว้ได้ สิ่งมีชีวิตใต้น้ำก็ไม่สามารถหายใจได้ตามปกติจึงต้องล้มตายไป
แนวทางในการป้องกันแก้ไข
การลดปัญหาฝนกรดสามารถทำได้อย่างประสิทธิภาพสูงสุดโดยวิธีการลดปริมาณก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์และไนโตรเจนออกไซด์ที่จะเข้าสู่บรรยากาศจากโรงงานไฟฟ้า ยานพาหนะ และโรงงานอุตสาห์กรรมทั่วไป วิธีที่ง่ายที่สุดคือการลดการใช้เชื้อเพลิงฟอสซิลโดยการประหยัดพลังงาน ไม่ว่าจะเป็นใครก็สามารถช่วยโลกด้วยวิธีนี้ได้ การใช้เครื่องใช้ไฟฟ้าที่มีประสิทธิภาพ ประหยัดพลังงาน การใช้ระบบขนส่งมวลชน เหล่านี้ล้วนเป็นวิธีการลดปัญหาฝนกรดได้อย่างชะงักทีเดียว
การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ปัญหา
ทรัพยากรที่ใช้แล้วหมดไป
ได้แก่ น้ำมันปิโตเลียม ก๊าซธรรมชาติและสินแร่
น้ำมันปิโตเลียมและก๊าซธรรมชาติเป็นทรัพยากรธรรมชาติที่หมดสิ้นได้ เมื่อหมดแล้วก็ไม่สามารถเกิดขึ้นมาใหม่ได้หรือถ้าเกิดใหม่ก็ต้องใช้เวลานานหลายล้านปีจึงจะเกิดมีขึ้นแต่ในการใช้เราจะใช้หมดไปในวันเวลาอันรวดเร็ว การจัดการทรัพยากรประเภทนี้จึงต้องเน้นให้ใช้อย่างประหยัดใช้ให้คุ้มค่าที่สุดและให้ได้ประโยชน์ที่สุดไม่เผาทิ้งไปโดยเปล่าประโยชน์
ความหมาย
สิ่งแวดล้อม หมายถึง สิ่งต่าง ๆ ทุกสิ่งที่อยู่ล้อมรอบตัวเราทั้งสิ่งที่มีชีวิตและไม่มีชีวิต สิ่งต่าง ๆ เหล่านี้อาจเป็นได้ทั้งสิ่งที่เกิดขึ้นโดยธรรมชาติและสิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้น
ทรัพยากรธรรมชาติ หมายถึง สิ่งที่มีอยู่ตามธรรมชาติซึ่งได้แก่ อากาศ น้ำ ดิน แร่ธาตุ ป่าไม้ สัตว์ป่า พลังงานความร้อน พลังงานแสงแดด และอื่น ๆ มนุษย์ได้ใช้ทรัพยากรธรรมชาติในการดำรงชีวิตนับตั้งแต่เกิดจนกระทั่งตาย
ปัญหาหมอกควัน ฝุ่นละออง PM 2.5
สาเหตุ
การคมนาคมขนส่ง
การผลิตไฟฟ้า
อุตสาหกรรมโรงงาน
การรวมตัวกันของก๊าซต่างๆ
การเผาในที่โล่ง
ปัญหา
PM 2.5 มีขนาดเล็กมาก จึงสามารถแพร่กระจายเข้าสู่ระบบทางเดินหายใจ ทางเดินกระแสเลือด และแทรกซึมเข้าสู่กระบวนการทำงานของอวัยวะต่างๆ
แนวทางในการป้องกันแก้ไข
ควรใส่หน้ากากอนามัย N95 แทนหน้ากากอนามัยแบบธรรมดา เพราะสามารถป้องกันฝุ่นได้ถึงขนาด 0.3 nm หน้ากากอนามัยแบบธรรมดา สามารถกันได้ 3 nm ถ้าจะใส่ควรนำกระดาษทิชชู่ใส่ไป 2-3 แผ่นเพื่อป้องกันให้ดีขึ้น