Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเรียนรู้ (เชาว์ปัญญา (Intelligence)…
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเรียนรู้
แรงจูงใจ (Motive)
ความหมาย
ประยุทธ ไทยธานี
แรงจูงใจ : พลังที่กระตุ้นให้บุคคลแสดงพฤติกรรมออกมา
การจูงใจ : สิ่งใดสิ่งหนึ่งที่กระตุ้น ผลักดันให้คนเราแสดงพฤติกรรมออกมา
จิราภรณ์ ตั้งกิตติภาพรณ์
แรงจูงใจ : พลังภายในตัวที่กระตุ้น พฤติกรรมให้ไปสู่เป้าหมาย
การจูงใจ : กระบวนการนำปัจจัยจูงใจมาผลักดันให้บุคคลแสดงพฤติกรรมอย่างมีทิศทาง
เฟลด์แมน
แรงจูงใจ : แรงผลักดันจากภายในและภายนอก
Ex. เกรด เงิน ความพึงพอใจ อาหาร
องค์ประกอบของแรงจูงใจ
ความสนใจ : ความอยากรู้อยากเห็น
ความเกี่ยวข้อง : ระหว่างบทเรียนกับผู้เรียน
ความคาดหวัง : คาดหวังในความสำเร็จในการเรียนรู้
ความพึงพอใจ : ความสนุกสนาน เพลิดเพลิน จากการเรียนรู้
ประเภทของแรงจูงใจ
แรงจูงใจภายใน
Ex. ความสนใจ ความรัก ความหิว ความพอใจ
แรงจูงใจภายนอก
Ex. การให้รางวัล การสอบ การแข่งขัน การลงโทษ
องค์ประกอบที่ทำให้เกิดแรงจูงใจ
แรงกระตุ้น (Motive)
Ex. แรงขับ ความต้องการ ความจำเป็น
เครื่องล่อ (Incentives)
Ex. การชมเชย การตำหนิ การให้รางวัล การลงโทษ
บทบาทของแรงจูงใจในการจัดการเรียนการสอน
ทำหน้าที่ในการกระตุ้น
ทำหน้าที่ในการสร้างความคาดหวัง
ทำหน้าที่เป็นเครื่องล่อ
ทำหน้าที่สร้างวินัยในการเรียน
เชาว์ปัญญา (Intelligence)
ความหมาย
ความสามารถหลายๆอย่างที่มีมาแต่กำเนิด
ลักษณะของสติปัญญา
เป็นลักษณะรวมในการทำกิจกรรมต่างๆ
ต้องใช้ความสามารถหลายอย่างจึงทำกิจกรรมนั้นได้สำเร็จ
เป็นลักษณะรวมที่ประกอบด้วยความสามารถหลายๆด้านปะปนกัน
ความสามารถในการรับรู้
ความสามารถในการเรียนรู้และจดจำสิ่งใหม่ๆ
ความสามารถในการวิเคราะห์
ความสามารถในการประเมิน+ตัดสินคุณค่า
ความสามารถในการปรับตัว
ความสามารถในการแก้ปัญหา
องค์ประกอบของเชาว์ปัญญา
พันธุกรรม
สิ่งแวดล้อม
ทางชีวภาพ
ทางสังคม
ผลแห่งเชาว์ปัญญา
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
การประกอบอาชีพ
ระดับเชาว์ปัญญา (I.Q)
สแตนฟอร์ด บิเนท์
140 and Above : Gifted
130-139 : Very Superior
120-129 : Superior
110-119 : High Average
90-109 : Average
80-89 : Low Average
20-79 : Borderline
Below 70 : Mentally Retarded
ทฤษฎีเชาว์ปัญญา
สเปียร์แมน
อปก.ความสามารถที่เป็นพฐ.ทั่วไป(g-Factor)
ใช้เหตุผลในการทำกิจกรรมทางปัญญาทุกอย่าง
สอดแทรกในทุกอิริยาบทของความคิดและการกระทำ
อปก.ความสามารถเฉพาะ(s-Factor)
อปก.สำคัญที่ทำให้มนุษย์แตกต่างกัน
เป็นความสามารถเฉพาะของการทำแต่ละกิจกรรม
เธอร์สโตน
โครงสร้างทางสมอง
1.ด้านความเข้าใจภาษา
2.ด้านความคล่องแคล่วในการใช้ถ้อยคำ
3.ด้านจำนวน
4.ด้านมิติสัมพันธ์
5.ด้านความทรงจำที่เชื่อมสัมพันธ์
6.ด้านความเร็วในการรับรู้
7.ด้านเหตุผล
กิลฟอร์ด
สมรรถภาพทางสมอง 3 มิติ
1.มิติเนื้อหา
ภาพ
สัญลักษณ์
ภาษา
พฤติกรรม
2.มิติวิธีการคิด
การรู้การเข้าใจ
การจำ
การคิดแบบเอกนัย(แยก)
การคิดแบบอเนกรัย(รวม)
การประเมิน
3.มิติผลของการคิด
หน่วย
จำพวก
ระบบ
ความสัมพันธ์
การแปลงรูป
การประยุกต์
ความจำ(Memory)
ความหมาย
ความสามารถที่จะเก็บสิ่งที่เรียนรู้ไว้ได้เป็นเวลานาน
สามารถค้นคว้ามาใช้ได้หรือระลึกได้
ส่วนประกอบ
1.การเรียนรู้และประสบการณ์
2.การเก็บ
3.การระลึกได้
4.เลือกความรู้ที่มีมาใช้ได้อย่างเหมาะสม
กระบวนการพื้นฐานของความจำ
การเข้ารหัส(Encoding)
เข้ารหัสสิ่งที่เรียนรู้หรือประสบการณ์
การเก็บ(Storage)
เก็บสิ่งที่เรียนรู้หรือประสบการณ์ไว้ในความจำระยะยาว
การค้นคืน(Retrieval)
นำข้อมูลที่เก็บไว้ในความจำระยะยาวมาใช้
เทคนิคในการช่วยจำ
การสร้างเสียงสัมผัส
การแต่งกลอนที่มีสัมผัส
การสร้างคำเพื่อช่วยจำจากอักษรตัวแรก
นำอักษรตัวแรกของแต่ละคำที่ต้องการจำมาสร้างคำใหม่
สร้างประโยคที่มีความหมายช่วยความจำ
Keyword
การลืม(Forgetting)
ความล้มเหลวในการจำ ไม่สามารถจำได้
ทฤษฎีการลืม
ทฤษฎีการเสื่อม/การเลือนหาย
(Decay Theory)
การลืมเกิดจากการที่ค่อยๆเลือนหายไปตามกาลเวลา
(Spontaneous Decay)
ทฤษฎีการลืมเพราะต้องการที่จะลืม
(Motivated Forgetting Theory)
เกิดขึ้นจากแรงจูงใจพิเศษที่ต้องการจะลืม
Ex. เหตุการณ์ที่ปวดร้าว สะเทือนใจ
ทฤษฎีการรบกวน
(Interference Theory)
Retroactive Interfernce : สิ่งที่เรียนรู้ทีหลังรบกวนสิ่งที่เรียนรู้ก่อน
Proactive Interference : สิ่งที่เรียนรู้ก่อนรบกวนสิ่งที่เรียนรู้ทีหลัง
ทฤษฎีความล้มเหลวในการค้นคืน
(Retrieval Failure Theory)
การเข้ารหัส(Encoding) ไม่ถูกต้อง/ไม่เคยเข้ารหัสไว้
ขาดเครื่องชี้แนะที่ช่วยในการค้นคืน (Retrieval Cues)