Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ทฤษฎีหญิงหลัง คลอด (การเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยา (ระบบสืบพันธุ์ (เต้านม…
ทฤษฎีหญิงหลัง คลอด
การเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยา
ระบบสืบพันธุ์
มดลูก
มดลูกการลดขนาดลงหลังทารกและรกคลอดไปแล้ว ยอดมดลูกจะอยู่ในระดับสะดือหรือต่ำกว่าสะดือเล็กน้อย
ประมาณวันที่ 10 ไปแล้วจะคลำไม่ได้ทางหน้าท้องและจะมีขนาดเท่ากับก่อนตั้งครรภ์ในราว 6 สัปดาห์หลังคลอด
เยื่อบุมดลูก (endometrial)
น้ำคาวปลา
Lochia Serosa = 4-9 วัน สีแดงจางหรือสีชมพู
Lochia Alba = หลัง 10 วัน สีขาวหรือสีเหลือง
Lochia Rubra = 1-3 วัน สีแดงคล้ำและข้น
ปกติน้ำคาวปลาจะหมดไปภายใน 21 วัน หลังคลอด
ปากมดลูก (cervix)
ภายหลังคลอดปากมดลูกจะมีลักษณะอ่อนนุ่ม
ภายหลังคลอด 1 สัปดาห์ปากมดลูกจะหดตัวตีบลงเหลือขนาด 1 - 2 cm
ช่องคลอดและฝีเย็บ (vagina and perineum)
เนื้อเยื่อบุช่องคลอดจะไม่ฟื้นตัวมีลักษณะแบนราบอยู่ จนเข้าสัปดาห์ที่ 6-10 จึงสมบูรณ์เหมือนเดิม
ฝีเย็บ (Perineum) มารดาที่มีการฉีกขาดของฝีเย็บจากการคลอดเองหรือจากการตัดฝีเย็บ แผลจะหายภายใน 2 ถึง 3 สัปดาห์ แต่จะหายอย่างสมบูรณ์อาจต้องใช้เวลานาน 4 ถึง 6 เดือนหลังคลอด
เยื่อพรหมจารี (hymen)
จะมีลักษณะที่คล้ายกับรุ่งริ่งกลายเป็นติ่งเนื้อเล็กๆเรียกว่า คารันคูเลไมร์ติฟอร์ม (carunculaemyrtiforms)
การตกไข่และการขาดประจำเดือน
หญิงหลังคลอดที่ไม่ได้เลี้ยงบุตรด้วยนมตนเองจะมีประจำเดือนครั้งแรกหลังคลอดบุตรภายใน 7 ถึง 9 สัปดาห์
เลี้ยงด้วยนมมารดา
การดูดนมจะกระตุ้น Hypothalamus
กดการหลั่ง Follicle Stimulating Hormone และ Luteinizing
ไม่มีการตกไข่และไม่มีประจำเดือน
ถ้าให้นมนาน 3 เดือน ประจำเดือนจะมาใน 17 สัปดาห์
ถ้าให้นมแม่นาน 6 เดือน ประจำเดือนจะมาประมาณสัปดาห์ที่ 28
เต้านม (breast)
ลานนมจะขยายกว้างและสีเข้มขึ้น
ในระยะให้นมบุตร (lactation) ขนาดของเต้านมจะมีขนาดใหญ่เพราะถุงผลิตน้ำนมจะมีการสร้างน้ำนมและท่อน้ำนมจะมีการขยายใหญ่เต็มที่เพื่อเก็บน้ำนมไว้สำหรับเลี้ยงทารก
กลไกการควบคุมน้ำนม
หลังคลอด Estrogen และ Progesterone ลดระดับลง
ทำให้มีการหลั่ง Prolactin มากขึ้น
Let-down reflex
เมื่อทารกดูดนมจะไปกระตุ้นปลายประสาทที่หัวนมและลานนม
ส่งสัญญาณไปยังใยประสาทไขสันหลังกระตุ้นต่อมใต้สมองส่วนหน้าให้มีการหลั่ง Prolactin
Milk Ejection reflex
เมื่อทารกดูดนมจะไปกระตุ้นปลายประสาทที่หัวนมและลานนม
กระตุ้นต่อมใต้สมองส่วนหลังทำให้มีการหลั่ง Oxytocin
ชนิดของน้ำนม
น้ำนมก่อนน้ำนมแท้ ( transitionalmilk )พอประมาณวันที่ 5-7 หลังคลอด
มีระดับไขมันแลคโตส (lastose) วิตามินที่ละลายในน้ำและมีแคลอรี่มากกว่า colostrum น้ำนมนี้จะผลิตอยู่นานถึง 2 สัปดาห์หลังคลอด
น้ำนมแท้ (true milk or mature Milk)
สารอาหารที่จำเป็นคือโปรตีนไขมันคาร์โบไฮเดรตเกลือแร่และวิตามิน อีกทั้งยังมี immonoglobulins , lymphocyte , macrophages , lyzozymes
น้ำนมเหลือง (colostrum) พบในระยะ 2-3 วันแรกคลอด
มีปริมาณโปรตีนและเกลือแร่ (inorganicsalts )มากแต่มีไขมันและคาร์โบไฮเดรตต่ำ นอกจากนั้นยังพบมีสาร immunoglobulins หรือ IgA ในความเข้มข้นที่สูง
ระบบไหลเวียนเลือด
ปริมาณเลือดในระบบไหลเวียนเลือดของร่างกาย จะเพิ่มมากอย่างกะทันหัน ซึ่งเป็นผลมาจากการหดรัดตัวของมดลูก ไล่เลือดที่ขังในชั้นกล้ามเนื้อมดลูกกับเข้าระบบไหลเวียนเลือดและ inferiorvenacava ก็เป็นอิสระจากการกดของมดลูก cardiacoutput จะเพิ่ม
Vital signs
ความดันโลหิต ภายใน 48 ชั่วโมงหลังคลอด ชั่วโมงหลังคลอดค่าความดัน systolic และ diastolic อาจสูงขึ้นหรือลดลงได้เล็กน้อยและจะกลับสู่สภาวะปกติภายในวันที่ 4 หลังคลอด
การหายใจ อาจช้าลงเล็กน้อยจากการลดขนาดของมดลูก มีผลให้กระบังลมเคลื่อนต่ำลง ทำให้ตำแหน่งของหัวใจ อัตราการหายใจกลับสู่ภาวะปกติ
ชีพจร ในช่วงแรกอัตราการเต้นของชีพจรอาจช้าลงกว่าปกติเล็กน้อย
อุณหภูมิร่างกาย ภายใน 24 ชั่วโมงหลังคลอด อุณหภูมิอาจสูงขึ้นเล็กน้อยแต่ไม่เกิน 38 องศาเซลเซียส เนื่องจากการสูญเสียน้ำซึ่งมีผลจากการคลอดเรียกภาวะนี้ว่า reactionary Fever แต่ถ้าอุณหภูมิสูงกว่า 38 องศาเซลเซียส นานเกิน 24 ชั่วโมงแสดงว่าอาจมีภาวะติดเชื้อเกิดขึ้น
การเปลี่ยนแปลงของระบบต่อมไร้ท่อ
ฮอร์โมนจากรก
ระดับ human placental lectogen (HPL) ลดลงและตรวจไม่พบในระยะหลังคลอด 24 ชั่วโมง
ระดับ human chorionic gonadotropin (HCG) ลดลงอย่างรวดเร็วและคงอยู่ในระดับต่ำอยู่นานประมาณ 3-4เดือน หรือจนกว่าจะมีการตกไข่เกิดขึ้น
ระดับ estrogenและ progesterone จะลดลงทันทีหลังรกคลอด และลดลงสูงสุดวันที่7หลังคลอด
ฮอร์โมนจากต่อม pituitary gland
ฮอร์โมน prolactin และ oxytocin จะเพิ่มขึ้นในมารดาที่เลี้ยงบุตรด้วยนมมารดาและจะคงอยู่ในระดับสูงนาน
6-12 เดือน
hypothalamus-pituitary-ovarian function
estrogen และ progesterone ในเลือดลดลงอย่างรวดเร็ว
เพิ่มของระดับ prolactin ซึ่งมีฤทธิ์กดการทำงานของรังไข่ คือการหลังของ FSH และ LH จึงทำให้ไม่มีการตกไข่และไม่มีประจำเดือน
น้ำหนักตัว weight loss
หลังคลอดทันทีน้ำหนักตัวจะลดลงประมาณ 4 ถึง 8 กิโลกรัม
การเปลี่ยนแปลงทางจิตสังคม
ระยะที่ 2 taking Hold
ระยะนี้มีเวลาประมาณ 3-10 วัน หลังคลอดซึ่งเป็นระยะที่มารดามี หลังคลอดซึ่งเป็นระยะที่มารดามีพฤติกรรมช่วยเหลือตนเองได้ กระตือรือร้นที่จะรับผิดชอบดูแลตนเองและทารก
ระยะที่ 3 Letting Go
ระยะนี้มีเวลาประมาณ 3-10 วัน หลังคลอดซึ่งเป็นระยะที่มารดามี หลังคลอดซึ่งเป็นระยะที่มารดามีพฤติกรรมช่วยเหลือตนเองได้ กระตือรือร้นที่จะรับผิดชอบดูแลตนเองและทารก
ระยะที่ 1 Taking in
เป็นระยะ 1-2 วันแรกหลังคลอดมารดาจะมีพฤติกรรมพึ่งพาแม่จากระยะนี้ร่างกายยังอ่อนเพลียจากการคลอดและมีความไม่สุขสบาย
ระยะนี้จะเชื่อฟังบุคคลที่ตอบสนองความต้องการของตนเองได้ อยากพูด อยากเล่าประสบการณ์การคลอดที่ผ่านมา
Postpartum blues ภาวะซึมเศร้าระยะหลังคลอด
มารดาปรับตัวไม่ได้อาจเกิดในระยะ 10 วันหลังคลอด ส่วนใหญ่จะเกิด 3-4 วันหลังคลอด
มีอาการหงุดหงิด นอนไม่หลับ เบื่ออาหาร คลื่นไส้อาเจียน ร้องไห้ไม่มีสาเหตุ อ่อนเพลีย