Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ปัญหาทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมระดับโลกเเละแนวทางจัดการและการอนุรักษ์…
ปัญหาทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมระดับโลกเเละแนวทางจัดการและการอนุรักษ์
เเนวทางการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมนั้นมีความสำคัญมากต่อการพัฒนาและความเจริญของประเทศตลอดจนถึงคุณภาพชีวิตที่ดีของประชาชน ประเทศที่มีทรัพยากรธรรมชาติอุดมสมบูรณ์และสิ่งแวดล้อมดีก็จะส่งผลให้ประชาชนในประเทศนั้นมีคุณภาพชีวิตและความเป็นอยู่ที่ดี
ทรัพยากรที่ใช้แล้วหมดไป
น้ำมันปิโตเลียมและก๊าซธรรมชาติเป็นทรัพยากรธรรมชาติที่หมดสิ้นได้ เมื่อหมดแล้วก็ไม่สามารถเกิดขึ้นมาใหม่ได้
ทรัพยากรที่ใช้ไม่หมดสิ้น
ป่าไม้ ป่าไม้เป็นทรัพยากรไม่หมดสิ้นเพราะถ้าป่าถูกทำลายก็อาจปลูกป่าขึ้นมาทดแทนได้ หรือเช่นน้ำ ดิน และอากาศ
วิธีการสำคัญอีกวิธีหนึ่งในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมก็คือ การกำหนดมาตรฐานเพื่อการควบคุมภาวะมลพิษของประเทศและควบคุมแหล่งกำเนิดเพื่อให้คุณภาพสิ่งแวดล้อมอยู่ในระดับมาตรฐานที่กำหนด ตัวอย่างของมาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดล้อมที่กำหนดขึ้นแล้ว
การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงเล็งเห็นถึงความสำคัญและปัญหาสิ่งแวดล้อมแลทรัพยากรธรรมชาติที่อาจเกิดขึ้นได้ในอนาคต จึงทรงให้มีการดำเนินโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ
การบำบัดน้ำเสียด้วยผักตบชวา
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงสนพระราชหฤทัยในการปรับปรุงคุณภาพของแหล่งน้ำที่มีอยู่แล้ว เช่น บึงและหนองต่าง ๆ เพื่อใช้เป็นแหล่งบำบัดน้ำเสียที่รับมาจากคลองให้มีสภาพดีขึ้น
การบำบัดน้ำเสียด้วยการผสมผสานระหว่างพืชน้ำกับระบบเติมอากาศ
เป็นระบบการบำบัดน้ำ โดยอาศัยธรรมชาติร่วมกับเทคโนโลยีแบบประหยัด คือ การสร้างบ่อกรวดสำหรับดักสารแขวนลอย จากนั้นจึงส่งผ่านน้ำไปยังบ่อต่อ ๆ ไป ซึ่งมีการปลูกต้นกกอียิปต์เพื่อดับกลิ่น การปลูกผักตบชวาเพื่อช่วยดูดซับสิ่งสกปรก
กังหันน้ำชัยพัฒนา
เป็นเครื่องกลเติมอากาศเพิ่มออกซิเจนให้แก่น้ำเพื่อบำบัดน้ำเสีย ซึ่งพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงสนพระราชหฤทัยเกี่ยวกับอุปกรณ์การเติมอากาศ และทรงค้นคิดทฤษฎีบำบัดน้ำเสียด้วยวิธีการเติมอากาศ โดยอาศัยวิธีการทำให้ออกซิเจนสามารถละลายลงไปในน้ำได้มากขึ้น จึงช่วยเร่งการเจริญเติบโตและการเพาะขยายของแบคทีเรียอย่างรวดเร็ว จนมีปริมาณมากพอที่จะย่อยสลายสิ่งสกปรกที่อยู่ในน้ำได้
4.การกำจัดน้ำเสียโดยวิธีธรรมชาติ
ทรงมีพระราชดำริให้ทำการศึกษาทดลองวิจัยว่ามีปลาชนิดใดที่จะช่วยกินสารอินทรีย์ในแหล่งน้ำเสียซึ่งเป็นแนวทางหนึ่งที่จะช่วยลดการเกิดน้ำเสียได้ มีต้นทุนต่ำ และสามารถเพิ่มผลผลิตสัตว์น้ำได้อีกทางหนึ่งด้วย
ภาวะโลกร้อน
ปัญหา
อุณหภูมิเฉลี่ยของโลกเพิ่มขึ้นจากภาวะเรือนกระจก
ซึ่งมีต้นเหตุจากการที่มนุษย์ ได้เพิ่มปริมาณก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ จาก การเผาไหม้เชื้อเพลิงต่างๆทำให้กลไกใน การดึงเอาก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ออกไป จากระบบบรรยากาศถูกลดทอนประสิทธิ ภาพลง
สาเหตุ
1.เกิดจากรังสีอินฟาเรดเเละอัลต้าไวโอเลตทะลุผ่านมายังดวงอาทิตย์ผ่านชั้นบรรยากาศของดลกเข้ามาเเล้วสะท้อนกลับออกมาได้น้อย
2.ใช้สารเคมีที่มีส่วนประกอบของก๊าซเรือนกระจกเช่น สารซีเอฟซี (CFC หรือ Chlorofluorocarbon) ซึ่งใช้เป็นสารทำความเย็นและใช้ในการผลิตโฟม เนื่องจากเป็นสารที่ถูกจำกัดการใช้ในพิธีสารมอนทรีออลแล้ว
ผลกระทบ
ผลกระทบด้านนิเวศวิทยา
แถบขั้วโลกก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงมากมาย โดยเฉพาะอย่างยิ่งภูเขาน้ำแข็ง ก้อนน้ำแข็งจะละลายอย่างรวดเร็ว
ผลกระทบด้านเศรษฐกิจ
แนวปะการังจะถูกทำลาย ปลาทะเลประสบปัญหา เนื่องจากระบบนิเวศที่แปรเปลี่ยนไป ธุรกิจท่องเที่ยวทางทะเลที่สำคัญจะสูญเสียรายได้มหาศาล
ผลกระทบด้านสุขภาพ
ภาพแวดล้อมที่เหมาะสมแก่การฟักตัวของเชื้อโรคและศัตรูพืช ที่เป็นอาหารของมนุษย์บางชนิด ทั้งจะมีการติดเชื้อเพิ่มมากขึ้นในโรคมาลาเรีย ไข้ส่า
วิธีการแก้ไขและป้องกัน
ลดการใช้พลังงานที่ไม่จำเป็นจากเครื่องใช้ไฟฟ้า
เลือกใช้ระบบขนส่งมวลชน ในกรณีที่สามารถทำได้ ได้แก่ รถไฟฟ้า
พยายามรับประทานอาหารให้หมด เศษอาหารที่เหลือทิ้งไว้จะก่อให้เกิดก๊าซมีเทนซึ่งก่อให้เกิดปริมาณความร้อนต่อโลก
ปรากฏการณ์เรือนกระจก
ปัญหา
ปรากฏการณ์ที่โลกมีอุณหภูมิสูงขึ้นเนื่องจาก พลังงานแสงอาทิตย์ ์ในช่วงความยาวคลื่นอินฟราเรดที่สะท้อนกลับถูกดูดกลืนโดยโมเลกุลของ ไอน้ำ คาร์บอนไดออกไซด์ C2O มีเทน (CH4) และ CFCsไนตรัสออกไซด์ (N2O)ทำให้โมเลกุลเกิดการสั่นการเคลื่อนไหว ตลอดเวลาและมาชน
ถูกผิวหนังของเรา ทำให้เรารู้สึกร้อน
สาเหตุ
ก๊าซที่ก่อให้เกิดปรากฏการณ์เรือนกระจก
• คาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) เกิดจากการเผาไหม้ต่าง ๆ
• มีเทน ซึ่งส่วนใหญ่เกิดจากการสลายตัวของอินทรีย์วัตถุ เช่น ขยะมูลฝอยที่ย่อยสลายได้
• CFC เป็นสารประกอบสำหรับทำความเย็น พบในเครื่องทำความเย็นต่างๆ เป็นสิ่งที่อยู่ร่วมกับฟรีออน
• Nitrous Oxide (N2O) เป็นก๊าซมีพิษที่เกิดจากเครื่องยนต์ การเผาถ่านหิน และใช้ประกอบในรถยนต์เพื่อเพิ่มกำลังเครื่อง
ผลกระทบ
ผลกระทบต่อสภาพภูมิอากาศ
สภาวะโลกร้อนที่มนุษย์สร้างขึ้นได้ทำให้โลกมีอุณหภูมิสูงขึ้น
ผลกระทบต่อแหล่งน้ำ
เมื่อมีฝนตกหนักขึ้น จนเกิดอุทกภัยและแผ่นดินถล่ม
ผลกระทบต่อระบบนิเวศวิทยาของโลก
ระดับน้ำทะเลที่สูงและอุ่นขึ้น ทำให้สัตว์และพืชต่างๆต้องปรับตัวอย่างหนักเพื่อความอยู่รอด และถ้าปรับตัวไม่ได้ก็จะล้มตายลง
วิธีเเก้ไขเเละป้องกัน
1.รักษาป่าไม้ให้ได้มากที่สุดและลดหรืองดการจัดซื้อสิ่งของหรือเฟอร์นิเจอร์ต่างๆที่ทำจากไม้ที่ตัดเอามาจากป่า
2.ลดการใช้น้ำมันจากการขับขี่ยวดยานพาหนะโดยปรับเปลี่ยนนิสัยการขับรถ
หมอกควัน ฝุ่นละออง PM 2.5
ปัญหา
ฝุ่นละอองที่มีขนาดเล็กกว่า 2.5 ไมครอน หรือเล็กกว่าเส้นผมของมนุษย์ ไม่สามารถมองเห็นได้ด้วยตาเปล่า ขนจมูกไม่สามารถกรองได้ การสูดเอา ฝุ่น PM2.5 เข้าไปในร่างกายจะเป็นอันตรายต่อสุขภาพ เพราะสามารถเดินทางผ่านทางเดินหายใจสู่ปอด กระแสเลือด แทรกซึมกระบวนการทำงานในอวัยวะต่างๆได้ง่าย
สาเหตุ
1.ควันพิษจากการจราจรและการคมนาคม ปัจจุบันในกรุงเทพ มีจำนวนรถยนต์เพิ่มมากขึ้น โดยควันที่เกิดจากท่อไอเสียรถยนต์เป็นสาเหตุหลักที่ปล่อย PM2.5
2.ควันและฝุ่นจากการเผาต่างๆ จริงๆแล้วในพื้นที่ของกรุงเทพไม่ได้มีพื้นที่เกษตรที่จะทำให้เกิดการเผาได้
ฝุ่นละอองจากภาคอุตสาหกรรมและการก่อสร้าง
ผลกระทบ
ฝุ่นละอองนี้อาจสร้างความเสียหายต่อประสิทธิภาพด้านการคิดและสติปัญญาของเราและเพิ่มความเสี่ยงให้เป็น Degenerative disease (โรคความเสื่อมถอยต่างๆ)ได้ เช่น โรคอัลไซเมอร์ หรือภาวะสมองเสื่อม
ฝุ่นละออง PM2.5นี้เป็นอันตรายต่อสุขภาพ โดยเฉพาะผู้ป่วยโรคระบบทางเดินหายใจ หรือผู้ป่วยโรคหัวใจและหลอดเลือด
วิธีการเเก้ไข
ให้หน้ากากป้องกันฝุ่น N95 การใส่หน้ากากจะช่วยลดปริมาณฝุ่นที่จะเข้าสู่ร่างกายได้
ให้พนักงานสามารถทำงานที่บ้านได้ เพื่อเป็นการหลีกเลี่ยงการอยู่ท่ามกลางฝุ่นละออง ช่วยลดการเดินทางและจำนวนรถยนต์
ปรากฏการณ์เอลนีโญ ลานีญา
ปัญหา
เป็นปรากฏการณ์ที่อุณหภูมิมหาสมุทรอุ่นขึ้นผิดปกติ ประกอบกับความดันบรรยากาศสูงบริเวณมหาสมุทรแปซิฟิกด้านตะวันตก ส่วนเป็นปรากฏการณ์ที่อุณหภูมิมหาสมุทรเย็นลงผิดปกติ ประกอบกับความดันบรรยากาศต่ำบริเวณมหาสมุทรแปซิฟิกด้านตะวันตก
สาเหตุ
เกิดการเปลี่ยนแปลงในอุณหภูมิผิวน้ำทะเลของมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันออก โดยอุ่นขึ้นหรือเย็นลงผิดปกติ
ผลกระทบ
1.ส่งผลให้สภาพอากาศแปรปรวนและทวีความรุนแรงมากกว่าที่คาดการณ์ไว้
2.ปรากฏการณ์เอลนีโญทำให้ฝนตกหนักในตอนเหนือของทวีปอเมริกาใต้
3 เอลนีโญก่อให้เกิดสภาพอากาศเลวร้าย อย่างเช่น อุทกภัย ภัยแล้ง .
วิธีการเเก้ไข
1.จัดการวางแผนการใช้น้ำที่ดี เช่น ในช่วงฤดูฝนตก ควรเตรียมภาชนะ บ่อ หรืออ่างเก็บน้ำเพื่อรวบรวมน้ำฝนไว้ใช้ในยามขาดแคลน
2.การนำน้ำมาใช้หมุนเวียน เป็นวิธีการนำน้ำที่ใช้แล้วหมุนเวียนกลับมาใช้ใหม่ โดยผ่านกระบวนการปรับปรุงคุณภาพน้ำ
ฝนกรด
ปัญหา
เป็นปรากฏการณ์ธรรมชาติอันเกิดเนื่องมาจากมลภาวะทางอากาศ ซึ่งส่วนใหญ่เกิดมาจากการกระบวนการผลิตไฟฟ้าและอุตสาหกรรมทั่วไปของมนุษย์ โดยฝนกรดก่อให้เกิดปัญหาต่าง ๆ ต่อสภาพแวดล้อมมากมาย
สาเหตุ
ก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์และไนโตรเจนออกไซด์ โดยก๊าซทั้งสองชนิดนี้มักจะเกิดจากการเผาผลาญเชื้อเพลิงฟอสซิล เช่น ถ่านหิน ก๊าซธรรมชาติ และน้ำมัน ก๊าซทั้งสองชนิดนี้จะทำปฏิกิริยากับน้ำ และสารเคมีอื่น ๆ ในชั้นบรรยากาศเพื่อก่อให้เกิดกรดซัลฟิวริก กรดไนตริก
ผลกระทบ
ผลกระทบต่อสิ่งมีชีวิต
ฝนกรดจะทำการละลายและพัดพาปุ๋ยและสารอาหารที่จำเป็นในการเจริญเติบโตของต้นไม้ไป
ผลกระทบต่อเเหล่งน้ำ
จะทำให้ น้ำบริสุทธิ์ในธรรมชาติทั่วไป มักจะเป็นกรดอ่อน ๆ หรือเบสอ่อน ๆ ก่อให้เกิดปัญหาต่อสิ่งมีชีวิตในแหล่งน้ำนั้น ๆ รวมไปถึงความสามารถในการละลายออกซิเจนในน้ำที่ลดน้อยลง เมื่อน้ำไม่สามารถละลายออกซิเจนไว้ได้ สิ่งมีชีวิตใต้น้ำก็ไม่สามารถหายใจได้ตามปกติจึงต้องล้มตายไป
ผลกระทบที่มีต่อสิ่งปลุกสร้างของมนุษย์
ปัญหาตามมาคือเกิดปลวกขึ้นตามไม้จากสิ่งปลูกสร้างของมนุษย์
วิธีเเก้ไขเเละป้องกัน
วิธีการลดปริมาณก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์และไนโตรเจนออกไซด์ที่จะเข้าสู่บรรยากาศจากโรงงานไฟฟ้า
ลดการใช้เชื้อเพลิงฟอสซิลโดยการประหยัดพลังงาน
รูโหว่โอโซน
ปัญหา
เมื่อรังสียูวีทะลุผ่านเข้ามายังโลกได้มากขึ้น โดยเฉพาะรังสียูวีบี จะทำให้จุลินทรีย์หรือสิ่งมีชีวิตขนาดเล็ก ๆ ตายได้ รวมทั้งไปทำลายเซลล์ผิวหนังของมนุษย์ทำให้เกิดเป็นโรคมะเร็งผิวหนัง สามารถทำให้ตาเป็นต้อกระจกได้
สาเหตุ
เกิดจากการรวมตัวของเเก๊สออกวิเจนกับอะตอมออกวิเจน รวมตัวชั้นบรรยากาศชั้นสตาโทสเฟียร์ มีคุณสมบัติใรการดูดซับรังสีอัลตาไวโอเลตจากดวงอาทิตย์ จึงช่วยป้องกันไม่ให้รังสีอัลตราไวโอเลตส่งมาถึงโลกโดยตรง
ผลกระทบ
ผลกระทบโดยตรงต่อมนุษย์ เช่น ระบบภูมคุ้มกันโรคบกพร่อง รังสีUV-Bที่สามารถยับยังการทำงานของภูมิคุ้มกันโรค ทำให้การให้วัคซีนไม่เกิดผล มะเร็งผิวหนัง อันตรายต่อดวงตา เกิดต้อกระจกหรือตาบอดได้เพราดวงตาไวต่อแสง
วิธีการเเก้ไขปัญหา
1).งดหรือลดกิจกรรมที่ก่อมลสารเช่นลดปริมาณมลสารที่ทำให้อากาศเสีย เช่น ฝุ่นละอองและสารพิษ
2) ลดปริมาณก๊าซเรือนกระจก เช่น ไม่เผาป่า ฟางข้าว
3) ลดปริมาณก๊าซที่ทำลายชั้นโอโซน.