Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ปัญหาทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมระดับโลก (การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้…
ปัญหาทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมระดับโลก
ภาวะโลกร้อน :sunny:
ส่วนมากเกิดจากกิจกรรมต่างๆของมนุษย์ที่ทำให้ปริมาณก๊าซเรือนกระจกในชั้นบรรยากาศเพิ่มขึ้น เช่น การเผาผลาญเชื้อเพลิงต่างๆ
เพราะมีก๊าซเรือนกระจกขวางอยู่ ทำให้รังสีความร้อนจากโลกแผ่ออกไปได้น้อย
รังสีอินฟาเรดจากดวงอาทิตย์ทะลุผ่านชั้นบรรยากาศโลกได้ แต่สะท้อนกลับไปได้น้อย
ส่งผลกระทบต่อสิ่งมีชีวิตอย่างมาก
ระดับน้ำทะเลสูงขึ้น เนื่องจากน้ำแข็งขั้วโลกละลาย
ปะการังฟอกสี เนื่องจากอุณหภูมิน้ำทะเลสูงขึ้น
ผลผลิตทางด้านการเกษตรและปศุสัตว์ลดลง
แนวทางการป้องกัน :green_heart:
ลดกิจกรรมที่ทำให้เกิดก๊าซเรือนกระจก เช่น ลดการเผาขยะ ลดการเผาป่า หรือใช้รถสาธารณะ
รูโหว่โอโซน :earth_americas:
เกิดจากสารประกอบคลอรีน ที่ใช้ในเครื่องปรับอากาศ ตู้เย็น กระป๋องสเปรย์ ซึ่งระเหยขึ้นไปสะสมปะปนกับโอโซน และทำให้เกิดปฏิกิริยาการแตกตัวของโอโซน
ทำให้รังสีอัลตราไวโอเลตจากดวงอาทิตย์ ตกลงถึงพื้นโลกได้ง่ายขึ้น
ทำให้เกิดมะเร็งผิวหนัง ทำลายระบบภูมิคุ้มกัน
น้ำแข็งขั้วโลกละลาย
โลกร้อน
แนวทางการป้องกัน :green_heart:
ลดกิจกรรมที่ก่อให้เกิดสารCFCs
กำจัดขยะให้ถูกวิธี
เลือกผลิตภัณฑ์ที่ไม่ก่อให้เกิดสารCFCs
ฝุ่นละออง PM2.5 :cloud:
เกิดจากการปล่อยก๊าซพิษในปริมาณมาก เช่น การเผาหรือการคมนาคมที่มากเกินไป รวมถึงการรวมตัวกันของก๊าซต่างๆในชั้นบรรยากาศ
มีผลกระทบร้ายแรงต่อผู้ที่สูดดมเข้าไปมาก เช่น ปอดแข็ง หลอดลมอักเสบ มีอาการแสบจมูก ตาแดง หรือวิงเวียนศรีษะ
แนวทางการป้องกัน :green_heart:
หลีกเลี่ยงกิจกรรมกลางแจ้ง
ใส่หน้ากากกันฝุ่น
ใช้เครื่องฟอกอากาศ
หลีกเลี่ยงกิจกรรมที่ทำให้เกิดฝุ่นหรือควัน เช่นการเผาป่า
ฝนกรด :rain_cloud:
เกิดจากก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์และออกไซด์ของไนโตรเจนที่เกิดจากการเผาไหม้เชื้อเพลงที่ถูกปล่อยไปสู่ชั้นบรรยากาศ มาทำปฏิกิริยากับน้ำ ทำให้มีฤทธิ์เป็นกรด
สร้างความเสียหายแก่สิ่งปลูกสร้าง โดยเฉพาะส่วนที่มีหินปูนเป็นองค์ประกอบ
พืชไม่สามารถนำธาตุอาหารไปใช้ได้ สังเคราะห์แสงได้น้อยลง
น้ำขัง เป็นกรด เป็นอันตรายต่อสัตว์น้ำและพืชน้ำ
แนวทางการป้องกัน :green_heart:
ลดปริมาณก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์และไนโตรเจนออกไซด์ที่จะเข้าสู่บรรยากาศ
ลดการใช้เชื้อเพลิงฟอสซิลโดยการประหยัดพลังงาน
เอลีโญ-ลานีญา :desert_island:
เอลนีโญ
เป็นปรากฏการณ์ที่อุณหภูมิมหาสมุทรอุ่นขึ้นผิดปกติ ประกอบกับความดันบรรยากาศสูงบริเวณมหาสมุทรแปซิฟิกด้านตะวันตก
ก่อให้เกิดสภาพอากาศเลวร้าย อย่างเช่น อุทกภัย ภัยแล้ง หรือการรบกวนสภาพอากาศในหลายภูมิภาคของโลก ประเทศกำลังพัฒนาซึ่งมีเศรษฐกิจเน้นเกษตรกรรมและการประมง โดยเฉพาะอย่างยิ่งที่อยู่ในบริเวณมหาสมุทรแปซิฟิก ได้รับผลกระทบมากที่สุด ส่วนใหญ่แล้ว ปรากฏการณ์เอลนีโญ-ความผันแปรของระบบอากาศในซีกโลกใต้
ลานีญา
เป็นช่วงที่อุณหภูมิพื้นผิวน้ำทะเลเพิ่มสูงขึ้นอย่างน้อย 0.5 °C และผลกระทบของลานีญามักจะตรงกันข้ามกับของเอลนีโญ
ในแถบสหรัฐอเมริกาตอนกลางตะวันตก ขณะที่ลานีญาจะทำให้เกิดช่วงแห้งแล้งในพื้นที่เดียวกัน ส่วนอีกด้านหนึ่งของมหาสมุทรแปซิฟิก ลานีญาทำให้เกิดฝนตกหนัก
การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม :check:
มีการพัฒนาทางด้านเทคโนโลยีไปมาก แต่ขาดประสิทธิภาพในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ ทำให้ทรัพยากรธรรมชาติร่อยหรอและเสื่อมโทรมลง
สาเหตุจากธรรมชาติ เช่น น้ำท่วม ภูเขาไฟปะทุ ไฟป่า แผ่นดินไหว
สาเหตุจากมนุษย์ เช่น การเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วของประชากร การขยายตัวของชุมชนเมือง เทคโนโลยีสมัยใหม่
แนวทางการป้องกัน :green_heart:
รู้จักอนุรักษ์และใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืน
การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง :deciduous_tree:
พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช ท่านทรงเล็งเห็นถึงความสำคัญปัญหาในเรื่องของทรัพยากรธรรมชาติจึงให้มีโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริต่างๆ เพื่อการอนุรักษ์และปรับปรุงเรื่องในด้านต่างๆมากมาย
เช่น หญ้าแฝก แกล้งดิน กังหันน้ำชัยพัฒนา
ประชาชนที่ยึดหลักของในหลวงต่างก็ใช้ชีวิตอยู่อย่างพอเพียง และปัญหาเรื่องของทรพยากรที่มีไม่เพียงพอก็ลดน้อยลงโดยที่ไม่ต้องพึ่งทางราชการมากนัก
ปรากฏการณ์เรือนกระจก :warning:
ขบวนการที่รังสีความร้อนจากพื้นผิวโลกจะถูกดูดซับโดยก๊าซเรือนกระจกในชั้นบรรยากาศ และแผ่รังสีออกไปอีกครั้งส่งกลับมายังพื้นผิวโลกและบรรยากาศด้านล่าง เป็นผลทำให้ระดับอุณหภูมิพื้นผิวโลกเฉลี่ยสูงขึ้น
สภาพอากาศเปลี่ยนแปลงรุนแรง
โลกร้อน
สัตว์สูญพันธุ์
น้ำแข็งขั้วโลกละลาย
แนวทางการป้องกัน :green_heart:
ลดกิจกรรมที่ทำให้เกิดสารCFCs