Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ปัญหาทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมระดับโลก (ภาวะโลกร้อน (พื้นที่ดังกล่าวนี้ปกคลุม…
ปัญหาทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมระดับโลก
ฝุ่นp.m2.5
อยู่ในเขตอุทยานแห่งชาติดอยอินทนนท์
ตรง กม.ที่ 42 ของถนนสายจอมทอง-ยอดดอยอินทนนท์
ใกล้กับพระมหาธาตุ นภเมทนีดลและ พระมหาธาตุนภพลภูมิสิริ
เส้นทางเดินศึกษาธรรมชาติระยะสั้น เป็นวงรอบระยะทางประมาณ 3 กิโลเมตร ที่ระดับความสูงประมาณ 2,000 เมตร จาก ระดับน้ำทะเล
ปรากฎการณ์เรือนกระจก
ทุ่งหญ้าบนสันเขา
ทางจะเดินขึ้นเขาจนทะลุออกยังทุ่งหญ้าโล่งกว้างของสันกิ่วแม่ปานซึ่งมีแสง แดดจ้าและสายลมแรง
บรรยากาศเปลี่ยนไปจากสภาพที่ผ่านมาทันที
ทุ่งหญ้าบริเวณนี้เคยเป็นป่าดิบเขามาก่อน แต่ได้ถูกบุกรุกทำลายไปจนมีสภาพดังเช่นปัจจุบัน
จากนี้ทางเดินจะเลียบไปตามสันเขาที่มีดงต้นกุหลาบพันปี รวมทั้งไม้พุ่มขนาดเล็กอย่างช้ามะยมดอยและต่างไก่ป่า ซึ่งเป็นตัวอย่างของสังคมพืชกึ่งอัลไพน์ให้ศึกษา
ป่าดิบเขา
ทางช่วงแรกจะเป็นป่าดิบเขาซึ่งมีบรรยากาศร่มครึ้ม มีแสงแดดส่องลงมาเพียงรำไรตามพื้นป่า
มีเฟิร์นหลากหลายชนิด มีมอสสีเขียวขึ้นคลุมตามโคนต้นไม้และบริเวณริมห้วยที่ชุมชื้น
ภาวะโลกร้อน
พื้นที่ดังกล่าวนี้ปกคลุมไปด้วยป่าไม้หลายประเภท แต่บางแห่งได้ถูกโค่นถางทำลายลงเพื่อใช้พื้นที่ในการทำไร่เลื่อนลอย
มีตาน้ำ และแหล่งต้นน้ำ มีลำธารอยู่ตลอดเส้นทาง น้ำสายนี้จะไหลไปรวมกับสายอื่นๆ ในพื้นที่ดอยอินทนนท์
ส้นทางนี้อยู่ที่ระดับความสูงประมาณ 2,000 เมตรจากระดับน้ำทะเล
ดิน พื้นที่ภูเขาสูงส่วนใหญ่เป็นดินในกลุ่ม Reddish Brown Lateritic Soils และ Red Yellow Podzolic Soils
จุดเด่นที่เป็นพืชกึ่งอัลไพล์ และต้นไม้ใส่เสื้อ
สภาพภูมิประเทศประกอบด้วยภูเขาสูงสลับซับซ้อน เป็นส่วนหนึ่งของแนวเขตเทือกเขาถนนธงชัยที่ทอดตัวตามแนวเหนือ-ใต้ ทอดตัวมาจากเทือกเขาหิมาลัยในประเทศเนปาล
ป่าทึบที่ปกคลุมด้วยต้นไม้ พร้อมทั้งยังมีจุดชมวิวที่สามารถมองเห็นยอดดอยอื่นๆ รวมทั้งยังเป็นแหล่งที่อยู่อาศัยของกวางผาหรือม้าเทวดา
ประกอบด้วยหินที่มีอายุตั้งแต่ยุคแคมเบรียนขึ้นไป และหินส่วนใหญ่จะเป็นหินไนส์และหินแกรนิต ส่วนหินชนิดอื่นๆ ที่พบจะเป็นหินยุคออร์โดวิเชียนซึ่งได้แก่หินปูน จนถึงยุคเทอร์เซียรี่ได้แก่หินกรวดมน
ปรากฎการณ์เอลนีโญลานีญา
มีไม้พุ่มและไม้เกาะเกี่ยว เช่น คำขาว กุหลาบขาว คำแดง และยังมีต้นโพสามหาง กระโถนฤาษี เป็นต้น
พืชตามกิ่ง ยอด และลำต้นของไม้ในป่าจะมีมอส กล้วยไม้ เฟิร์น กุหลาบพันปี สำเภาแดง ขึ้นปกคลุม พันธุ์ไม้ในป่าดิบเขาหรือป่าก่อชื้น ได้แก่ ก่อดาน ก่อแอบ จำปีหลวง แกง นางพญาเสือโคร่ง กะทัง
หลายแห่งมีลักษณะของป่าดึกดำบรรพ์ พืชพื้นล่างไม่แน่นทึบ
มีพืชพรรณ ป่าดิบเขาตอนบน ขึ้นอยู่ในพื้นที่ที่มีระดับความสูงจากน้ำทะเล 1,800 เมตรขึ้นไป
เขตอบอุ่น
ป่าดงดิบ
ป่าพรุเขตอบอุ่น
ป่าดงดิบ-ป่าก่อชื้น
ในบริเวณแอ่งน้ำและรอบๆ ป่าพรุจะมีหญ้าชนิดต่างๆ ขึ้นอยู่ เช่น บัวทอง พญาดง เทียน ผักหนอกดอย มะ แหลบ วาสุกรี บันดงเหลือง ต่างไก่ป่า กุง กูดขน ฯลฯ และบริเวณชายขอบป่าพรุจะมีกุหลาบพันปีสีแดง ซึ่งเป็นสายพันธุ์ที่พบเฉพาะบนยอดดอยอินทนนท์เท่านั้น
สัตว์ป่า สัตว์ป่าในบริเวณอุทยานแห่งชาติที่นี้มีจำนวนลดลงไปมาก เนื่องจากถูกชาวเขาเผ่าต่างๆ ล่าเป็นอาหาร และป่าซึ่งเป็นที่อยู่อาศัยถูกถางลงมาก ทำให้สัตว์ใหญ่บางชนิดหมดไปจากป่านี้
ป็นแหล่งของสัตว์ป่าที่หายาก และมีอยู่เฉพาะถิ่นอยู่หลายชนิด ที่สำคัญได้แก่ หนูหญ้าดอย กระท่าง เต่าปูลู นกศิวะหางสีน้ำตาล นกปีกสั้นสีนำเงิน นกกระจิ๊ดคอสีเทา และนกกินปลีหางยาว เป็นต้น
สัตว์ที่เหลืออยู่ส่วนมากเป็นสัตว์ขนาดเล็ก
กิ้งก่าหัวสีฟ้า จิ้งเหลนเรียวจุดดำ ตุ๊กแกบ้าน งูลายสอคอแดง กบห้วยสีข้างดำ เขียดหนอง อึ่ง-กราย คางคกเล็ก ปาดแคระ ฯลฯ
กระรอก กระแตธรรมดา กระเล็นขนปลายหูสั้น อ้นเล็ก เม่นหางพวง อีเห็นข้างลาย ชะมดแผงสันหางดำ
นกแซงแซวเล็กเหลือบ นกปรอดหัวสีเขม่า นกเด้าดินทุ่ง เหยี่ยว เพเรกริน ไก่ฟ้าหลังขาว นกเงือกคอแดง นก-พญาไฟสีกุหลาบ
พ พื้นที่อุทยานแห่งชาติดอยอินทนนท์ยังคงความสำคัญในด้านของการเป็นแหล่งของนกป่าที่สำคัญของประเทศไทย
ฝนกรด
รูโหว่โอโซน
พืช
สัตว์