Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ปัญหาทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมระดับโลก (รูโหว่โอโซน (ผลกระทบ…
ปัญหาทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมระดับโลก
รูโหว่โอโซน
สาเหตุ
เกิดจากการที่สาร CFCs หลุดลอยขึ้นไปในชั้นบรรยากาศ เมื่อกระทบกับรังสี UV มันจะแตกตัวปล่อยอะตอมของคลอรีนออกมาทำลายโอโซน ทำให้เสียอะตอมกลายเป็นออกซิเจนจนเกิดเป็นรูโหว่าในที่สุด
ผลกระทบ
เป็นการทำลายระบบนิเวศน้ำ
ทำให้ทรัพย์สินเสื่อมเสียเร็วขึ้น
ทำให้การเจริญเติมโตของพืชช้าลง
ทำให้อัตรการเกิดต้อกระจกเพิ่มขึ้น
ทำให้เกิดความเสี่ยงเป็นโรคมะเร็งผิวหนัง
แนวทางการแก้ไข
เลือกซื้อและใช้เครื่องปรับอากาศที่ไม่ปล่อยสาร CFCs
กำจัดขยะให้ถูกวิธี
เลิกใช้วัสดุที่ย่อยสลายยาก
งดหรือลดกิจกรรมที่ก่อให้เกิดมลพิษ
ฝุ่น PM2.5
สาเหตุ
การเผา
การคมนาคม
การผลิตไฟฟ้าในอุตสาหกรรม
การรวมตัวของก๊าซ SO2 NOx และสารพิษอื่นๆ
ผลกระทบ
มีผลกระทบต่อผู้ที่สูดเข้าไป
ลมพิษ
ระคายเคือง
แสบจมูก
เวียนศรีษะ
โรคร้ายคุกคาม
ปอดแข็ง
หลอดลมอักเสบเฉยบพลัน
การป้องกัน
ใส่หน้ากากกันฝุ่น
ใช้เครื่องฟอกอากาศ
หลีกเลี่ยงกิจกรรมการแจ้ง
การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
สาเหตุ
ปัจจุบันมีปัญหาเกี่ยวกับทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในหลายๆด้าน ทำให้ทรัพยากรลดลง จึงต้องมีการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
แนวคิดในการรจัดการ
มุ่งหวังให้มีศักยภาพ
ต้องมีการจัดองค์ประกอบให้อยู่ในสภาวะสมดุล
ยึดหลักของอนุรักษ์วิทยาเป็นพื้นฐาน
ต้องพิจารณาถึงความเหมาะสม
กำหนดแนวทางปฏิบัติที่ชัดเจน
การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
แก้มลิง
ประโยชน์
ช่วยลดระยะเวลาน้ำท่วมให้ลดลง
ช่วยระบายน้ำท่วมขังในที่ลุ่มทิ้งลงทะเล
กังหันน้ำชัยพัฒนา
ความหมาย
เครื่องกลเติมอากาศที่เป็นกังหันน้ำแบบลอยทุ่น
ประโยชน์
ใช้ในการบำบัดน้ำเสีย โดยการทำให้ออกซิเจนละลายในน้ำ
ภาวะโลกร้อน
สาเหตุ
มีก๊าซเรือนกระจกที่เพิ่มขึ้นจากการทำกิจกรรมต่างๆของมนุษย์ ก๊าซเหล่านี้ลอยขึ้นไปรวมตัวกันอยู่บนชั้นบรรยากาศของโลก ทำให้รังสีของดวงอาทิตย์ที่ควรจะสะท้อนกลับออกไปในปริมาณที่เหมาะสม กลับถูกก๊าซเรือนกระจกเหล่านี้กักเก็บไว้ ทำให้อุณหภูมิของโลกค่อยๆสูงขึ้นจากเดิม
แนวทางการแก้ไข
ลดการใช้พลังงานที่ไม่จำเป็นจากเครื่องใช้ไฟฟ้า
เลือกใช้ระบบขนส่งมวลชน ในกรณีที่สามารถทำได้
ช่วยกันปลูกต้นไม้
เวลาซื้อของพยายามไม่รับภาชนะที่เป็นโฟมหรือพลาสติก
ผลกระทบ
ระดับน้ำทะเลเพิ่มสูงขึ้นเนื่องจากธารน้ำแข็งที่กำลังละลาย และอุณหภูมิทั่วโลกที่กำลังสูงขึ้นจากการขยายตัวทางความร้อนของน้ำในมหาสมุทร
ก๊าซเรือนกระจกที่ถูกปล่อยออกมามหาศาลจากชั้นดินเยือกแข็ง และป่าที่กำลังตาย
สัตว์สายพันธุ์ต่างๆ เสี่ยงต่อการสูญพันธุ์มากขึ้น และเกิดความสูญเสียด้านความหลากหลายทางชีวภาพ
ฝนกรด
สาเหตุ
ก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์ (SO2) และ ออกไซด์ของไนโตรเจน (NOx) ซึ่งเกิดจากการเผาไหม้เชื้อเพลิงในเครื่องยนต์และโรงงานต่างๆ แล้วถูกปล่อยสู่บรรยากาศ และเกิดการทำปฏิกิริยากับน้ำ ออกซิเจน และสารเคมีอื่นๆ
ผลกระทบ
พืช
ทำให้พืชไม่สามารถนำธาตุอาหารไปใช้ได้
ทำให้ความสามารถในการสังเคราะห์แสงลดลง
สัตว์
สัตว์น้ำไม่สามารถดำรงชีวิตอยู่ได้
แนวทางการแก้ไข
ลดการใช้เชื้อเพลิงฟอสซิลโดยการประหยัดพลังงาน
การใช้เครื่องใช้ไฟฟ้าที่มีประสิทธิภาพ ประหยัดพลังงาน
การใช้ระบบขนส่งมวลชน
การคัดเลือกเชื้อเพลิงที่จะนำมาใช้
ปรากฏการณ์เรือนกระจก
สาเหตุ
ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) เป็นก๊าซที่สะสมพลังงานความร้อนในบรรยากาศโลกไว้มากที่สุดและมีผลทำให้ อุณหภูมิของโลกสูงขึ้นมากที่สุดในบรรดาก๊าซเรือนกระจกชนิดอื่นๆ CO2ส่วนมากเกิดจากการกระทำของมนุษย์
ผลกระทบ
ระดับน้ำทะเลเพิ่มสูงขึ้นเนื่องจากธารน้ำแข็งที่กำลังละลาย และอุณหภูมิทั่วโลกที่กำลังสูงขึ้นจากการขยายตัวทางความร้อนของน้ำในมหาสมุทร
ก๊าซเรือนกระจกที่ถูกปล่อยออกมามหาศาลจากชั้นดินเยือกแข็ง และป่าที่กำลังตาย
สัตว์สายพันธุ์ต่างๆ เสี่ยงต่อการสูญพันธุ์มากขึ้น และเกิดความสูญเสียด้านความหลากหลายทางชีวภาพ
แนวทางการแก้ไข
ลดระยะทางที่ใช้สำหรับการขนส่ง
ปิดเครื่องปรับอากาศทุกครั้งที่ไม่ใช้
รักษาป่าไม้ให้ได้มากที่สุดและลดหรืองดการจัดซื้อสิ่งของหรือเฟอร์นิเจอร์ต่างๆที่ทำจากไม้ที่ตัดเอามาจากป่า
ลดการใช้น้ำมันจากการขับขี่ยวดยานพาหนะโดยปรับเปลี่ยนนิสัยการขับรถ
ปรากฏการณ์เอลนีโญ ลานีญา
สาเหตุ
เอลนีโญ
เกิดจากการเพิ่มขึ้นอย่างผิดปกติของอุณหภูมิที่ผิวน้ำทะเลในมหาสมุทรแปซิฟิกด้านตะวันออก ที่ทำให้ความดันบริเวณตะวันออกต่ำกว่าความดันบริเวณตะวันตก จึงเกิดเป็นลมที่พัดสวนทางกับลมสินค้า จากทิศตะวันตกไปยังทิศตะวันออก
ลานีญา
เกิดจากการเพิ่มขึ้นของอุณหภูมิอย่างผิดปกติของผิวน้ำทะเลในมหาสมุทรแปซิฟิกด้านตะวันตก ทำให้ความดันบริเวณตะวันตกต่ำกว่าความดันบริเวณตะวันออกจึงเกิดเป็นลมที่พัดเสริมลมสินค้าจากทิศตะวันออกไปยังทิศตะวันตก
ผลกระทบ
เอลนีโญ
ทางลบ
ทำให้อุณหภูมิของอากาศเปลี่ยนแปลง
ทำให้พื้นที่ที่เคยชุ่มชื้นเกิดภาวะแห้งแล้งและพื้นที่ที่เคยมีฝนตกน้อยกลับฝนตกหนัก เกิดภาวะน้ำท่วม
ทางบวก
ทำให้ผลผลิตทางการเกษตรเพิ่มขึ้น
ทำให้ธุรกิจบางชนิดได้รายได้ดี
ลานีญา
ส่วนใหญ่จะตรงข้ามกับของเอลนีโญ ตัวอย่างเช่น เอลนีโญจะทำให้เกิดช่วงฝนตกในแถบสหรัฐอเมริกาตอนกลางตะวันตก ขณะที่ลานีญาจะ ทำให้เกิดช่วงแห้งแล้งในพื้นที่เดียวกัน