Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ปัญหาทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมระดับโลก (ภาวะโลกร้อน (แนวทางการแก้ไขปัญหา…
ปัญหาทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมระดับโลก
ภาวะโลกร้อน
การที่อุณหภูมิเฉลี่ยของอากาศบนโลกสูงขึ้น
สาเหตุ
ก๊าซเรือนกระจกที่เพิ่มขึ้นจากการทำกิจกรรมต่างๆ ของมนุษย์ ไม่ว่าจะเป็นการเผาผลาญถ่านหินและเชื้อเพลิง รวมไปถึงสารเคมีที่มีส่วนผสมของก๊าซเรือนกระจกที่มนุษย์ใช้
ผลกระทบ
สภาพลมฟ้าอากาศที่ผิดแปลกไปจากเดิม
ภัยธรรมชาติที่รุนแรงมากขึ้น น้ำท่วม แผ่นดินไหว พายุที่รุนแรง
อากาศที่ร้อนผิดปกติจนมีคนเสียชีวิต
แนวทางการแก้ไขปัญหา
ลดการใช้พลังงานที่ไม่จำเป็นจากเครื่องใช้ไฟฟ้า
เลือกใช้ระบบขนส่งมวลชน
พยายามรับประทานอาหารให้หมด เศษอาหารที่เหลือทิ้งไว้จะก่อให้เกิดก๊าซมีเทน
ช่วยกันปลูกต้นไม้
ปรากฎการณ์เรือนกระจก
กระบวนการที่โมเลกุลซับซ้อนในบรรยากาศดูดกลืนแสงอินฟราเรด (infrared) ทำให้โลกร้อนขึ้น
แก๊สที่มีบทบาทสำคัญในการดูดกลืนรังสีอินฟราเรดในชั้นบรรยากาศโลก
คาร์บอนไดออกไซด์
ออกซิเจน
มีเทน
ผลกระทบ
ผลกระทบต่อระดับน้ำทะเลและที่อยู่อาศัยของมนุษย์
ทำให้ธารน้ำแข็ง (glaciers) ละลายเร็วขึ้น ซึ่งทำให้ระดับทะเลสูงขึ้นเล็กน้อย
แนวทางป้องกัน
ลดการใช้น้ำมัน
ปิดเครื่องปรับอากาศ
ลดระดับการใช้งานเครื่องใช้ไฟฟ้าลง
นำกระดาษหรือภาชนะบรรจุอื่นๆ กลับไปใช้ใหม่
รักษาป่าไม้ให้ได้มากที่สุดและลดหรืองดการจัดซื้อสิ่งของหรือเฟอร์นิเจอร์ต่างๆที่ทำจากไม้ที่ตัดเอามาจากป่า
ปรากฏการณ์เอลนีโญ ลานีญา
เอลนีโญ (El Niño)
ปรากฏการณ์ธรรมชาติที่ปฏิสัมพันธ์ระหว่างการหมุนเวียนของกระแสอากาศกับกระแสน้ำในมหาสมุทร
เมื่อกระแสน้ำอุ่นในมหาสมุทรแปซิฟิกไหลเข้าแทนที่กระแสน้ำเย็นบริเวณชายฝั่งเปรู
ผลกระทบ
ฝูงปลามีจำนวนลดลง
นกชายฝั่งขาดอาหาร
ชาวประมงขาดรายได้
เกิดฝนตกและดินถล่มอย่างรุนแรงในประเทศเปรูและเอกวาดอร์
ทำให้ฝนตกหนักในตอนเหนือของทวีปอเมริกาใต้แต่ก็ทำให้เกิดความแห้งแล้งในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และออสเตรเลียตอนเหนือ
ไฟใหม้ป่าอย่างรุนแรงในประเทศอินโดนีเซียในบางปี
มีชื่อเรียกอย่างเป็นทางการว่า “El Niño – Southern Oscillation” เรียกอย่างสั้นว่า "ENSO" หมายถึงความผันผวนซึ่งเกิดขึ้นบริเวณมหาสมุทรแปซิฟิกตอนใต้
ลานีญา (La Niña)
ปรากฏการณ์ที่มีลักษณะตรงข้ามกับเอลนีโญ คือมีลักษณะคล้ายคลึงกับสภาวะปกติแต่รุนแรงกว่า
ทำให้เกิดธาตุอาหารและฝูงปลาชุกชุม
ทำให้เกิดความแห้งแล้งทางตอนเหนือของทวีปอเมริกาใต้และเกิดฝนตกหนักในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
ฝนกรด
น้ำฝนที่มีค่าเป็นกรด มีค่า pH ต่ำกว่า 5.6
สาเหตุ
การรวมตัวของน้ำฝนและแก๊สออกไซด์ต่างๆ ของโลหะที่เกิดจากควันเสียจากโรงงานอุตสากรรม รวมถึงควันจากการเผาไหม้อื่นๆ
ความเป็นกรดที่เพิ่มขึ้นของน้ำฝน เกิดจากมลพิษ 2 ตัวหลัก
ก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์ ทำให้เกิดกรดซัลฟิวริก
ออกไซด์ของไนโตรเจน ทำให้เกิดกรดไนตริก
กิจกรรมของมนุษย์
การใช้เชื้อเพลิงฟอสซิลในการผลิตกระแสไฟฟ้า
การเผาไหม้ในเครื่องยนต์ดีเซล เบนซิน
เกิดจากธรรมชาติ
การระเบิดของภูเขาไฟ
การระเหยจากน้ำทะเล
การเน่าเปื่อยของพืชและแพลงตอน
ผลกระทบ
ฝนกรดสามารถทำปฎิกิริยากับธาตุอาหารที่สำคัญของพืช เช่น Calcium, magnesium และ potassium ทำให้พืชไม่สามารถนำธาตุอาหารไปใช้ได้
ซัลเฟอร์ไดออกไซด์ในบรรยากาศยังไปปิดปากใบพืช ทำให้ความสามารถในการสังเคราะห์แสงลดลง
ความเป็นกรดที่เพิ่มขึ้นของน้ำทำให้สัตว์น้ำไม่สามารถดำรงชีวิตอยู่ได้
ฝนกรดสามารถละลาย Calcium carbonate ในหินเกิดการผุพัง
แนวทางการป้องกัน
ลดการใช้เชื้อเพลิงฟอสซิลให้น้อยลง
ใช้เครื่องใช้ไฟฟ้าที่มีประสิทธิภาพ
การใช้ระบบขนส่งมวลชน
รูโหว่โอโซน
ผลกระทบ
ความร้อนอาจทำให้น้ำแข็งในบริเวณขั้วโลกละลายมากขี้น
ความร้อนจะทำให้น้ำในมหาสมุทรขยายตัว ทำให้เกิดความแปรปรวนทางน้ำ
พืชชั้นต่ำ เช่น แพลงก์ตอน สาหร่ายไดอะตอม ยูกลีนอยด์เกิดการกลายพันธ์ได้ ส่วนใบพืชชั้นสูงจะมีการสังเคราะห์แสงลดลง
ทำให้เกิดการกลายพันธุ์ในสัตว์ หรือเกิดโรงมะเร็งขึ้นที่เปลือกตา และอวัยวะสืบพันธ์ุ
ป้องกันโรคกระดูกอ่อนและฟันผุ
ถ้าได้รับ รังสีอุลตราไวโอเลตมากไป เช่น ผู้ที่อาบแดดเป็นประจำ หรือชาวไร่ชาวนาที่ต้องตากแดดเป็นประจำ จะทำให้มีผิวกร้านหนา เพราะเซลล์แบ่งแยกตัวเพิ่มจำนวนมากขึ้น นอกจากนั้นผิวจะมีรอยย่นสีคล้ำ หรือจากทำให้ดูแก่เกินวัย และในที่สุด อาจเกิดมะเร็งที่ผิวหนัง
แนวทางการแก้ปัญหา
ลดปริมาณมลสารที่ทำให้อากาศเสีย เช่น ฝุ่นละอองและสารพิษ
ลดปริมาณก๊าซเรือนกระจก เช่น ไม่เผาป่า ฟางข้าว หรือขยะมูลฝอยเพื่อลดปริมาณก๊าซ คาร์บอนไดออกไซด์
แก้ไขรถควันดำ เพื่อลดปริมาณก๊าซคาร์บอน-มอนอกไซด์
ลดปริมาณขยะ เปียกและการทำให้เกิดการหมักหมม ของซากอินทรียวัตถุซึ่งทำให้เกิดก๊าซมีเทนและไม่ควรใช้ปุ๋ยไนโตรเจนมากเกิน
อนุรักษ์ป่าไม้เพื่อช่วยลดปัญหาอากาศเสียและวาตภัย
สาเหตุ
จากการกระทำของมนุษย์
ระบบการคมนาคมขนส่ง
การเผาไหม้ของเชื้อเพลิงในบ้าน
กิจการค้า สถาบัน และหน่วยงานของรัฐ การประกอบกิจการค้าหรือการดำเนินงานของสถาบันและหน่วยงานของรัฐ ย่อมมีการใช้เชื้อเพลิงในการเผาไหม้เพื่อก่อให้เกิดพลังงานนำไปใช้ประโยชน์ ในรูปต่าง ๆ
โรงงานอุตสาหกรรม เช่น โรงถลุงและหลอมโลหะ
การเผาขยะและสิ่งปฏิกูล ในเขตเทศบาลเมืองใหญ่ หรือชุมชนที่มีประชากรอยู่อย่างหนาแน่น
เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ
ภูเขาไฟระเบิด
ไฟป่า
สารอินทรีย์ที่เน่าเปื่อยผุพัง
ปัญหาหมอกควัน ฝุ่นละออง PM 2.5
ฝุ่นละอองขนาดเล็กไม่เกิน 2.5 ไมครอน
สาเหตุ
แหล่งกำเนิดโดยตรง
การเผาในที่โล่ง
การคมนาคมขนส่ง
การผลิตไฟฟ้า
อุตสาหกรรมการผลิต
การรวมตัวของก๊าซอื่นๆ ในบรรยากาศ
ซัลเฟอร์ไดออกไซด์
ออกไซด์ของไนโตรเจน
สารพิษอื่นๆ ที่ล้วนเป็นอันตรายต่อร่างกายมนุษย์
สารปรอท (Hg)
แคดเมียม (Cd),
อาร์เซนิก (As) หรือโพลีไซคลิกอะโรมาติกไฮโดรคาร์บอน (PAHs)
แนวทางการป้องกัน
สวมหน้ากากป้องกันฝุ่น โดยหน้ากากที่สามารถป้องกันฝุ่น PM 2.5 ได้คือ หน้ากาก N95
หลีกเลี่ยงกิจกรรมกลางแจ้ง
ลดการใช้ยานพาหนะส่วนตัว
ผลกระทบ
ต่อสิ่งแวดล้อม
สัตว์และพืชเศรษฐกิจเกิดความเสียหาย
สภาพอากาศแปรปรวน
ต่อสุขภาพ
ปัญหาระบบหายใจ
มีสารก่อมะเร็ง
การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
การจัดการทรัพยากรธรรมชาติ
การดำเนินงานอย่างมีประสิทธิภาพต่อสิ่งที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติ และให้ประโยชน์ต่อมนุษย์ ทั้งในด้านการจัดหา การเก็บรักษา การซ่อมแซม การใช้อย่างประหยัด รวมทั้งการสงวน เพื่อให้ทรัพยากรธรรมชาตินั้น สามารถให้ผลได้อย่างยาวนาน
การใช้ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจะต้องเป็นไปอย่างสมเหตุสมผล ใช้อย่างฉลาด หรือใช้ตามความจำเป็น
การประหยัดของที่หายาก และของที่กำลังสูญพันธุ์
การปรับปรุง ซ่อมแซมสิ่งที่เสื่อมโทรมให้คืนสภาพก่อนนำไปใช้ เพื่อให้ระบบสิ่งแวดล้อมดีขึ้น
แนวความคิดหลัก
มุ่งหวังให้เกิดความเพิ่มพูนภายในระบบ ที่จะนำมาใช้ได้ โดยไม่มีผลกระทบกระเทือนต่อทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมนั้นๆ
มีการรักษา สงวน ปรับปรุง ซ่อมแซม และพัฒนาทรัพยากรธรรมชาติ ในทุกสภาพ ทั้งในสภาพที่ดีตามธรรมชาติ ในสภาพที่กำลังมีการใช้ และในสภาพที่ทรุดโทรมร่อยหรอ
กำหนดแนวทางในการจัดการ เพื่อให้คุณภาพชีวิตของมนุษย์ดีขึ้น
การจัดการสิ่งแวดล้อม
การดำเนินงานอย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อทำให้สิ่งที่อยู่รอบๆ ตัวเรามีผลดีต่อคุณภาพชีวิต นั่นก็คือ จะต้องดำเนินการป้องกันไม่ให้เกิดปัญหาภาวะมลพิษ ที่จะมีผลต่อการดำรงชีวิตอยู่อย่างมีความสุข ปลอดภัย
การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติตามปรัชญา
การนำทรัพยากรหรือวัสดุต่าง ๆ ที่สามารถหาได้ง่ายในชุมชนมาใช้ประโยชน์ เพื่อการบำบัดน้ำเสียและใช้ในการแก้ปัญหาที่เกิดกับมลพิษทางน้ำของประเทศ
การบำบัดน้ำเสียด้วยผักตบชวา
การบำบัดน้ำเสียด้วยการผสมผสานระหว่างพืชน้ำกับระบบเติมอากาศ
การบำบัดน้ำเสียด้วยระบบบ่อบำบัดและวัชพืชบำบัด
กังหันน้ำชัยพัฒนา
การกำจัดน้ำเสียโดยวิธีธรรมชาติ