Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กลุ่มพฤติกรรมนิยม (Behaviorism) (ทฤษฎีการเรียนรู้แบบลองผิดลองถูกของธอร์นได…
กลุ่มพฤติกรรมนิยม (Behaviorism)
ทฤษฎีการเรียนรู้แบบลองผิดลองถูกของธอร์นไดค์
การเรียนรู้เกิดจากการเชื่อมโยงระหว่างสิ่งเร้ากับการตอบสนอง
โดยการลองผิดลองถูก
จนกว่าจะพบรูปแบบที่ดีหรือเหมาะสมที่สุด
อุปกรณ์ที่ใช้ในการทดลอง
แมว อายุ 8 เดือน
กรงที่มีกลไกพิเศษ
ปลาแซลมอน
กฎการเรียนรู้
กฎการเรียนรู้หลัก 3 กฎ
กฎแห่งความพร้อม
กฎแห่งการฝึกหัด
กฎแห่งความพอใจ
กฎสนับสนุนการเรียนรู้ย่อย 5 กฎ
กฎแห่งการแสดงพฤติกรรมการตอบสนองหลายรูปแบบ
กฎแห่งการเตรียมพร้อม
กฎการเลือกพฤติกรรมตอยสนอง
กฎแห่งการตอบสนองโดยอาศัยประสบการณ์ที่คล้ายคลึงหรือเกี่ยวข้องกัน
กฎแห่งการถ่ายโยงจากสิ่งเร้าเก่าไปสู่สิ่งเร้าใหม่
การนำไปใช้ในการเรียนการสอน
ครูกำหนดจุดประสงค์ให้ชัดเจน
ก่อนเริ่มสอนผู้เรียนควรมีความพร้อมที่จะเรียน
ให้ผู้เรียนได้ฝึกฝนและทบทวนสิ่งที่เรียนไปแล้ว
ครูให้คำชมเชยหรือรางวัล
ครูต้องจัดกิจกรรม บทเรียน เป็นลำดับขั้นตอน
ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบคลาสสิคของพาฟลอฟ
การเรียนรู้เกิดจากการวางเงื่อนไข
อุปกรณ์ที่ใช้ทดลอง
สุนัข
กระดิ่ง
ผงเนื้อ
การทดลอง
ขั้นที่ 1 ขั้นก่อนการวางเงื่อนไข
สั่นกระดิ่ง : สุนัขส่ายหัว กระดิกหาง
ผงเนื้อ : สุนัขน้ำลายไหล
ขั้นที่ 2 ขั้นการวางเงื่อนไข
สั่นกระดิ่ง+ผงเนื้อ : สุนัขน้ำลายไหล
ขั้นที่ 3 ขั้นการเรียนรู้
ตัดสิ่งเร้าที่ไม่วางเงื่อนไขออก คือ ผงเนื้อ
สั่นกระดิ่ง : สุนัขน้ำลายไหล
กฎการเรียนรู้
กฎแห่งการลดภาวะ
กฎแห่งการฟื้นคืนสภาพ
กฎแห่งสรุปกฏเกณฑ์
กฎแห่งความแตกต่าง
การนำไปใช้ในการเรียนการสอน
คำนึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล
การวางเงื่อนไข เกี่ยวกับพฤติกรรมทางอารมณ์
การลบพฤติกรรมที่วางเงื่อนไข
การสรุปความเหมือนและแยกความต่าง
ทฤษฎีการวางเงื่อนไขของวัตสัน
การวางเงื่อนไขแบบคลาสสิค ทำให้เกิดการเรียนรู้
แตกต่างจากพาฟลอฟ คือ ใช้คนในการทดลอง
ทำให้ด.ช.อัลเบิร์ต กลัวหนูขาว
การทดลอง
ขั้นที่ 1 ขั้นก่อนวางเงื่อนไข
หนูขาว : ไม่เป็นสิ่งที่อัลเบิร์ตกลัว กล้าจับต้องเล่นด้วย
เสียงดัง : ตกใจกลัว+ร้องไห้
ขั้นที่ 2 ขั้นระหว่างวางเงื่อนไข
หนูขาว (วางเงื่อนไข) + เสียงดัง (ไม่วางเงื่อนไข) : ตกใจกลัวร้องไห้
ขั้นที่ 3 ขั้นการเรียนรู้
ตัดสิ่งเร้าที่ไม่ได้วางเงื่อนไข คือ เสียงดัง ออก
หนูขาว : ตกใจกลัวร้องไห้
การนำมาใช้ในการเรียนการสอน
การเปลี่ยนพฤติกรรมให้เด็กนักเรียนชอบเรียนในวิชาที่ไม่ชอบเรียน
ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบการกระทำของสกินเนอร์
เน้นการกระทำ
การเรียนรู้เกิดขึ้นจากการเสริมแรง
เสริมแรงทางบวก
คำชมเชย
รางวัล
เสริมแรงทางลบ
นำออก
เสียงดัง
คำตำหนิ
ฝึกหนูกดคาน
อุปกรณ์ที่ใช้ทดลอง
หนู
กล่องสกินเนอร์
การทดลอง
ขั้นที่ 1 ขั้นเตรียมการทดลอง
ให้หนูคุ้นชินกับกล่อง
สร้างแรงขับให้หนูเกิดความหิวมากๆ
ขั้นที่ 2 ขั้นการทดลอง
ปล่อยหนูเข้าไปในกล่องสกินเนอร์
เท้าของหนูบังเอิญแตะลงใปบนคาน
สกินเนอร์ปล่อยอาหารลงไปในกล่องทันที
ทุกครั้งที่หนูหิวจะใช้เท้าหน้ากดลงบนคานเสมอ
ขั้นที่ 3 ขั้นทดสอบการเรียนรู้
หนูแสดงอาการกดคานทันทีเมื่อเข้าไปในกล่องสกินเนอร์
หนูเกิดการเรียนรู้ว่าการกดคานจะทำให้ได้กินอาหาร
การนำไปใช้ในการเรียนการสอน
การให้การเสริมแรงจะช่วยเพิ่มอัตราการตอบสนองที่เหมาะสม
2.การเว้นระยะการเสริมแรง/เปลี่ยนรูปแบบการเสริมแรง จะช่วยให้การตอบสนองของผู้เรียนคงทนถาวร
การลงโทษที่รุนแรง ผู้เรียนอาจไม่ได้เรียนรู้/จำสิ่งที่เรียนรู้ไม่ได้