Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 7 การส่งตัวอย่างเพื่อการตรวจวินิจฉัย โรคติดเชื้อทางห้องปฏิบัติการ
บทที่ 7
การส่งตัวอย่างเพื่อการตรวจวินิจฉัย
โรคติดเชื้อทางห้องปฏิบัติการ
การเก็บและส่งตัวอย่าง
อุจจาระ ปัสสาวะ เลือด
การเก็บสิ่งส่งตรวจที่เป็นเลือด
เจาะเลือดจากหลอดเลือดดำโดยวิธี streile technique
5-10 มล. ใส่ขวด hemaculture
ควรเก็บตัวอย่างเลือด 2ขวดห่างกันอย่างน้อย
30น.หรือพร้อมกันจากแขนสองข้าง
หากไม่สามารถนำส่งได้ทันที
ให้ตั้งไว้ที่อุณหภูมิห้อง ห้ามแช่เย็น
การเก็บสิ่งส่งตรวจที่เป็นปัสสาวะ
เก็บปัสสาวะโดยวิธี clean voided midstream
เพศหญิงทำความสะอาดอวัยวะเพศ หลังจากนั้นปัสสาวะทิ้งไปก่อนเล็กน้อย
แล้วจึงเก็บปัสสาวะใส่ภาชนะ ปิดฝาภาชนะให้สนิท
เพศชายทำความสะอาดบริเวณปลายอวัยวะเพศ จากนั้นถ่ายปสสาวะทิ้งเล็กน้อย
แล้วจึงเก็บปัสสาวะใส่ภาชนะ ปิดฝาให้สนิท
การเก็บ catheterized urine ให้เช็ดสายสวนบริเวณ
Three-waysด้วยน้ำยาฆ่าเชื้อก่อนใช้
syringe ดูดปัสสาวะ ระบุด้วยว่าเป็น cath urine
หากไม่สามารถนำส่งได้ทันทีให้เก็บไว้ที่อุณหภูมิ
4 องศาแต่ไม่ควรเกิน 2 ชม.
การเก็บสิ่งส่งตรวจที่เป็นอุจจาระ
เก็บ stool swab อุจจาระที่ถ่ายใหม่ๆหากอุจจาระมีมูกเลือด
ให้เก็บส่วนที่เป็นมูกเลือดด้วย ใส่ในขวด
cary-blair transport medium
เก็บ rectal swab ใส่ในขวด
cary-blair medium
หากไม่สามารถนำส่งได้ทันทีควรเก็บไว้ที่
อุณหภูมิ4องศาแต่ไม่ควรนานเกิน24ชม.
การตรวจวินิจฉัย
การตรวจหาเชื้อแบคทีเรีย เชื้อรา โปรโตซัว พยาธิด้วยกล้องจุลทรรศน์
การตรวจหาเชื้อแบคทีเรียและเชื้อรา
ด้วยวิธีเพาะเลี้ยงเชื้อ
การตรวจหาเชื้อแบคทีเรีย ไวรัส โปรโตซัวด้วยวิธีการทาง serology
การแปลผลการตรวจ
ย้มสีและเพาะเชื้อแบคทีเรีย
serology
stool exmination
หลักการเก็บสิ่งส่งตรวจ
เก็บสิ่งส่งตรวจถูกต้อง ถูกตำแหน่ง
ปริมาณเพียงพอ
ระวังการปนเปื้อนระหว่างเก็บ
ภาชนะบรรจุเหมาะสม ปิดสนิท
ไม่รั่วซึม
เขียนชื่อ สกุล อายุ หมายเลขผู้ป่วย ชนิดสิ่งส่งตรวจ
ตำแหน่งเก็บที่ วันเวลาที่เก็บที่ภาชนะและใบนำส่ง
นำส่งห้องปฏิบัติการโดยเร็ว