Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 7 การส่งตัวอย่างเพื่อการตรวจวินิจฉัยโรคติดเชื้อทางห้องปฏิบัติการ…
บทที่ 7
การส่งตัวอย่างเพื่อการตรวจวินิจฉัยโรคติดเชื้อทางห้องปฏิบัติการ
วัตถุประสงค์ของการส่งตรวจ
1.ประกอบการวินิจฉัยโรค
4.ให้ทราบถึงระดับความรุนแรงของโรค
3.วิเคราะห์แยกสาเหตุ/โรคต่างๆ
6.ดูการตอบสนองต่อการรักษา
5.ค้นหาโรคที่กลับมาเป็นซ้ำ
2.ตรวจหาโรคที่แฝงอยู่
หลักการเก็บสิ่งตรวจ
ระวังการปนเปื้อนระหว่างเก็บ
เก็บสิ่งส่งตรวจถูกตำแหน่ง ปริมาณเพียงพอ
เขียนชื่อ-นามสกุล อายุ หมายเลขผู้ป่วย ชนิดสิ่งที่ส่งตรวจ ตำแหน่งที่เก็บ วันเวลาที่เก็บ ที่ภาชนะและใบคำสั่ง
นำส่งห้องปฏิบัติการโดยเร็ว
ภาชนะบรรจุเหมาะสม ปิดสนิท ไม่รั่วซึม
วิธีการตรวจวินิจฉัยโรค
ตรวจหาเชื้อแบคทีเรีย เชื้อรา พยาธิ ด้วยกล้องจุลทรรศน์
การตรวจหาเชื้อแบคทีเรียและเชื้อราด้วยวิธีเพาะเลี้ยงเชื้อ
การตรวจหาเชื้อแบคทีเรีย ไวรัส โปรโตซัวด้วยวิธีการทาง Serology
การเก็บสิ่งส่งตรวจ
เลือด
ภาชนะสำหรับเก็บ
Hemoculture bottle
วิธีเก็บ
เจาะหลอดเลือดดำโดย Sterile technique
เก็บตัวอย่างเลือด 2 ขวด
การนำส่ง
ไม่สามารถนำส่งได้ทันที ตั้งไว้ที่อุณหภูมิห้อง
ปัสสาวะ
ภาชนะสำหรับเก็บ
ปากกว้างมีฝาเกลียวปิดสนิท สะอาด ปราศจากเชื้อ
วิธีเก็บ
วิธี Clean voided midstream
เพศ ช,ญ ทำความสะอาดอวัยวะเพศ และปัสสาวะทิ้งไปก่อน
Catheterized urine เช็ดตรง Three-ways ด้วยยาฆ่าเชื้อ ใช้ Syringe ดูดปัสสาวะใส่ขวด ระบุด้วยว่าเป็น Cath urine
การนำส่ง
หากไม่นำส่งทันที่ ให้เก็บที่อุณณหภูมิ 4 องศา ไม่ควรเกิน 2 ชั่วโมง
อุจจาระ
ภาชนะสำหรับเก็บ
ขวดแห้งที่สะอาด
ขวด Cary-Blair transport Medium
วิธีเก็บ
เก็บ Stool swab จากอุจจาระใหม่ๆ เก็บมูกเลือดด้วย ใส่ในขวด
เก็บ Rectal swab ใส่ขวด
การนำส่ง
ไม่สามารถส่งได้ทันที
เก็บไว้ที่อุณหภูมิ 4 อาศา
ไม่นานเกิน 24 ชั่วโมง
การแปลผลการตรวจ
1.ย้อมสีและเพาะเชื้อเเบคทีเรีย
2.ทาง Serology
3.Stool examination