Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับพัฒนาการ (ทฤษฎีพัฒนาการทางสังคมของอิริกสัน (ขั้นที่ 1…
ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับพัฒนาการ
ทฤษฎีพัฒนาการของซิกมันด์ฟรอยด์
มนุษย์มีสัญชาตญาณติดตัวมาแต่กำเนิด
พฤติกรรมของบุลคลเป็นผลมาจากแรงจูงใจหรือแรงขับทางเพศ
ขั้นที่ 1 ขั้นปาก (Oral Stage)
อายุแรกเกิด - 1 ปี
ขั้นความสุขอยู่ที่บริเวณช่องปาก
ชอบดูดนม เล่นน้ำลาย
ขั้นที่ 2 ขั้นทวารหนัก (Anal Stage)
อายุ 1- 2 ปี
ขั้นความสุขจากการขับถ่าย
ขั้นที่ 3 ขั้นอวัยวะเพศ (Phallic Stage)
อายุ 3-5ปี
ขั้นความสุขอยู่ที่อวัยวะเพศ
เด็กชายหวงแม่ (Odepus Commplex)
เด็กหญิงหวงพ่อ (Electra Complex)
ขั้นที่ 4 ขั้นแฝง (Lantency Stage)
อายุ 6-12 ปี
หาความสนุกสนานกับสิ่งที่อยู่รอบตัว
เล่นหรือจับกลุ่มกับเพศเดียวกัน
ขั้นที่ 5 ขั้นสนใจเพศตรงข้าม (Genital Stage)
อายุ 12 ปีขึ้นไป
ต้องการเป็นอิสระจากพ่อแม่
ต้องการความสนใจ การยอมรับจากสังคม
ทฤษฎีพัฒนาการทางสังคมของอิริกสัน
อธิบายถึงสัมพันธภาพระหว่างบุคคลและสังคม
เน้น! อิทธิพลของภาวะแวดล้อมที่มีต่ออารมณ์
ขั้นที่ 1 ความไว้วางใจ - ความไม่ไว้วางใจ
อายุ 0- 1 ปี
หากได้รับสัมผัสอันอ่อนโยน ความรัก ทารกจะไว้วางใจในสิ่งแวดล้อม
หากความต้องการไม่ได้รับการตอบสนอง ทารกจะมีอาการหวั่นกลัว
ขั้นที่ 2 ความเป็นตัวของตัวเอง - ความไม่มั่นใจในตัวเอง
อายุ 2-3 ปี
มีความเป็นอิสระ
ไม่พึ่งพาผู้ใดในการที่จะกระทำสิ่งต่างๆด้วยตนเอง
ขั้นที่ 3 ความคิดริเริ่ม - ความรู้สึกผิด
อายุ 4-5 ปี
หากเด็กได้รับการสนับสนุนในการทำกิจกรรมจากพ่อแม่
เด็กจะมีความมั่นใจในตัวเอง
ถ้าพ่อแม่เข้มงวดควบคุมความประพฤติตลอดเวลา
เด็กจะรู้สึกว่าตัวเองทำผิดเมื่อพยายามทำอะไรด้วยตัวเอง
ขั้นที่ 4 ความขยันหมั่นเพียร - ความรู้สึกต่ำต้อย
อายุ 6-11 ปี
ขั้นเอาการเอางานกับความมีปมด้อย
ขั้นที่ 5 ความเป็นเอกลักษณ์ - ความสับสนในบทบาท
อายุุ 12-18 ปี
ขั้นการเข้าใจอัตลักษณ์ของตนเองกับไม่เข้าใจตนเอง
ขั้นที่ 6 ความใกล้ชิดสนิทสนม - ความโดดเดี่ยวอ้างว้าง
อายุ 20-40 ปี
ระยะต้นของวัยผู้ใหญ่
ขั้นที่ 7 การทำประโยชน์ให้สังคม - การคิดถึงแต่ตนเอง
อายุ 40-60 ปี
ระยผู้ใหญ่
ขั้นที่ 8 บูรณภาพ - ความสิ้นหวัง
อายุ 60 ปีขึ้นไป
วัยชรา
ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาของเพียเจท์
เชื่อว่า มนุษย์ทุกคนมีความพร้อมที่จะปฏิสัมพันธ์และปรับตัวให้เข้ากับสิ่งแวดล้อมตั้งแต่เกิด
องค์ประกอบสำคัญที่เสริมพัฒนาการทางสติปัญญา
วุฒิภาวะ
ประสบการณ์
การถ่ายทอดความรู้ทางสังคม
กระบวนการพัฒนาสมดุล
ขั้นพัฒนาการของเชาว์ปัญญา
ขั้นใช้ประสาทสัมผัสและกล้ามเนื้อ
อายุ 0-2 ปี
การกระทำแบบปฏิกิริยาสะท้อน
อายุประมาณ 18 เดือน จะเริ่มแก้ปัญหาด้วยตนเองได้บ้าง
ขั้นเริ่มมีความคิดความเข้าใจ
อายุ 2-7 ปี
เริ่มเรียนรู้การใช้ภาษา
สามารถใช้สัญลักษณ์ต่างๆได้
สามารถเล่นสิ่งของสิ่งหนึ่งแทนอีกสิ่งหนึ่งได้
เล่นสมมุติต่างๆได้
ขั้นใช้ความคิดอย่างมีเหตุผลเชิงรูปธรรม
อายุ 7-11 ปี
สามารถคิดแบบตรรกวิทยาเชิงรูปธรรมได้
แบ่งแยกสิ่งแวดล้อมออกเป็นหมวดหมู่และลำดับขั้นได้
จัดเรียงขนาดสิ่งของได้
ชั้นใช้ความคิดอย่างมีเหตุผลเชิงนามธรรม
อายุ 12 ปีขึ้นไป จนตลอดชีวิต
ขั้นสูงสุดของพัฒนาการทางสติปัญญาและความคิด
ให้เหตุผลเชิงนามธรรมได้
คิดถึงเรื่องในอนาคตได้
ตัดสินตีค่าสิ่งต่างๆได้
ทฤษฎีพัฒนาการทางจริยธรรมของโคลเบิร์ก
มนุษย์มีพัฒนาการทางจริยธรรมหลายขั้นตอน
ระดับก่อนกฎเกณฑ์สังคม
มุ่งความสนใจอยู่ที่ตนเองเท่านั้น
อายุ 4-10 ปี
ขั้นจริยธรรม
ขั้นเชื่อฟังและหลีกเลี่ยงการลงโทษ
ขั้นใช้กฎเกณฑ์เป็นเครื่องมือเพื่อประโยชน์ของตน
ระดับจริยธรรมตามกฎเกณฑ์สังคม
อายุ 11-16 ปี
พุ่งความสนใจไปที่กฎเกณฑ์ การคาดหวังจากสังคม
ยอมรับข้อตกลงในสังคมมาปฏิบัติ
ขั้นจริยธรรม
ขั้นกระทำตามความหวังและการยอมรับในสังคม
ขั้นยึดกฎและระเบียบข้อบังคับของสังคม
ระดับอยู่เหนือกฎเกณฑ์
อายุ 16 ปีขึ้นไป
เข้าใจและยอมรับกฎเกณฑ์ของสังคม
บนพื้นฐานของหลักการเชิงจริยธรรมแบบสากล
ขั้นจริยธรรม
ขั้นกระทำตามสัญญา
ขั้นมีหลักการของจริยธรรมเชิงสากล
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพัฒนาการ
พันธุกรรม
ลักษณะที่ได้รับการถ่ายทอดมาจากบรรพบุรุษมาสู่ลูกหลาน
สิ่งแวดล้อม
สิ่งต่างๆ ที่อยู่รอบตัวเรา