Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กลุ่มปัญญานิยม (Cognitive Psychology) (โคห์เลอร์ (การทดลอง…
กลุ่มปัญญานิยม (Cognitive Psychology)
เน้น! การเรียนรู้ที่ส่วนรวมมากกว่าส่วนย่อย
เกิดขึ้นจากประสบการณ์และการเรียนรู้ 2 ลักษณะ
การรับรู้ (Perception)
การแปรความหมายจากการสัมผัสด้วยอวัยวะสัมผัสทั้ง 5
กฎแห่งการจัดระเบียบการรับรู้
กฎแห่งความชัดเจน
กฎแห่งความคล้ายคลึง
กฎแห่งความใกล้ชิด
กฎแห่งความสมบูรณ์
การหยั่งเห็น (Insight)
การเกิดความคิดแวบขึ้นมาทันทีทันใด ขณะประสบปัญหา
มองเห็นแนวทางในการแก้ปัญหาตั้งแต่เริ่มเป็นขั้นตอนจนสามารถแก้ปัญหาได้
โคห์เลอร์
การเรียนรู้เกิดจากการหยั่งเห็น
การหยั่งเห็นที่เกิดขึ้น ต้องอาศัย
ประสบการณ์เดิมที่มีอยู่ นำมาใช้แก้ปัญหาในสถานการณ์ใหม่
การทดลอง
ขังลิงชิมแปนซีไว้ในกรง ภายในกรงมีกิ่งไม้วางอยู่
ใช้ลิงชิมแปนซีในการทดลอง
ข้างกรงด้านหนึ่งมีผลไม้วางอยู่
อีกข้างหนึ่งมีไม้ขนาดยาววางไว้
ลิงสามารถเขี่ยไม้ยาวที่อยู่นอกกรงนำมาใช้เขี่ยผลไม้ได้สำเร็จ
การเรียนรู้แบบหยั่งรู้จะเกิดขึ้นได้ต้องมีลักษณะเด่น 3 ประการ
แนวทางในการแก้ปัญหาเกิดจากการมองเห็นช่องทางทันทีทันใด
ผู้เรียนต้องมีประสบการณ์เดิม/ความรู้เดิม ที่จะนำมาใช้แก้ปัญหา
ผู้เรียนต้องมีความสามารถในการใช้เหตุผล เชื่อมโยงความสัมพันธ์ของสิ่งต่างๆ ได้
การประยุกต์ใช้ในการเรียนการสอน
การหยั่งเห็นจะขึ้นอยู่กับการจัดสภาพที่เป็นปัญหา
เมื่อสามารถแก้ปัญหาได้ครึ่งหนึ่ง คราวต่อไปผู้เรียนจะสามารถนำวิธีการนั้นมาใช้แก้ปัญหาได้ทันที
เมื่อค้นพบลู่ทางในการแก้ปัญหาจากครั้งก่อนก็อาจนำมาดัดแปลงใช้กับสถานการณ์ใหม่ได้