Umbilical vein catheter

คำจำกัดความ

การใส่สายสวนหลอดเลือดสะดือ หมายถึง การนำท่อสายยางชนิดพิเศษ สวนเข้าไปในหลอดเลือดดำใหญ่ทางสะดือจนถึงใกล้หัวใจ

ข้อบ่งชี้

  1. สำหรับวัด central venous pressure (CVP)
  1. สำหรับการทำหัตถการ Total และ Partial exchange transfusion
  1. สำหรับการให้สารน้ำและยาในกรณีฉุกเฉินหรือเร่งด่วน
  1. สำหรับให้สารน้ำที่มีความเข้มข้นสูง (hypertonic solution)
    หรือให้ยากลุ่ม vasopressors

ข้อห้าม

มีการอักเสบหรือติดเชื้อบริเวณสะดือหรือภายในช่องท้อง

อุปกรณ์

  1. Set cut down 1 set
  1. สาย uvc no. 3.5/5
  1. Iris forcep
  1. Blade no. 11
  1. Povidine solution
  1. 0.9% NSS
  1. ผ้าผูกยึด
  1. T - way
  1. เสื้อกาวน์ 2 ชุด
  1. สะพาน tape bridge
  1. O2 sat monitor
  1. เชือก cord clamp
  1. Heparin (UAC)
  1. Syring 5 ml
  1. พลาสเตอร์

4E64536F-4975-4BBF-A63D-EAD12056B21E

การดูแล

  1. ประเมินสภาพผู้ป่วยและวัดv/s
  1. สังเกตตำแหน่งของสายสวนอย่างน้อยเวรละ 1 ครั้ง ถ้ามีการเลื่อนหลุดจากเดิม รีบรายงานแพทย์ทราบทันที
  1. ทำควาสะอาดสะดือและสาย catheter ด้วย 70% alcohol เวรละครั้ง
  1. บันทึกลักษณะสารคัดหลั่งจากสะดือ
    หลังใส่สายสวน (น้ำเหลือง หรือเลือด)
  1. สังเกตสีผิวนิ้วเท้าและขาของทารก
    หากเป็นสีม่วงหรือขาวซีดหลังจากใส่สายสวน
    รายงานแพทย์ทราบทันที
  1. สังเกตภาวะแทรกซ้อนจากการใส่สายสวน

ขั้นตอน

  1. บอกบิดามารดา ให้ข้อมูลและเซนใบยินยอม
  1. ล้างมือให้สะอาด
  1. จัดเตรียมอุปกรณ์
  1. จัดท่านอนหงายราบ ติด O2 sat monitor
  1. เช็ดทำความสะอาดบริเวรรอบสะดือด้วย Povidine solution
  1. วัดv/s ระหว่างที่ใส่สายสวนrecordทุก 15minx2 ครั้ง
    ทุก 30minx2 ทุก 1hrx1ครั้งและทุก4hrหรือตามความจำเป็น
    สังเกต bleeding,cyanosis,ปิดตำแหน่งที่ใส่สายสวน
    ด้วย sterile gauze เมื่อไม่มี bleeding ตำแหน่งเหมาะสม
    ให้ตรึงสายสวนด้วยสะพาน tape bridge
  1. รายงานแพทย์ ถ้า RR>60 ครั้ง/นาทีเหนื่อยหอบ
    สีผิวคล้ำ ขาบวม ท้องอืด O2sat<95 %
  1. CXRและติดตามผล เพื่อดูว่าสายสวน
    อยู่ในตำแหน่งที่เหมาะสมหรือไม่
  1. ต่อ Three ways ต่อสายสวน โดยอีกด้านต่อกับ
    syring ขนาด 5 ml ที่บรรจุ 0.9% NSS เพื่อหล่อสาย
    สวนไว้ในกรณีที่แพทย์ต้องดูดเลือดจากสายสะดือเพื่อ
    ส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการ
  1. จัดเก็บอุปกรณ์

position

6B124DF0-0574-4626-9D1C-893C73D68533

complication

  1. Thrombolic or embolic phenomenon
  1. หัวใจเต้นผิดจังหวะ เนื่องจากใส่สาย
    umbilical catheter ลึกเกินไปถึงหัวใจ
  1. necrotizing enterocolitis โดยเฉพาะถ้าคาสาย
    umbilical venous catheter ไว้นานเกิน 24 ชม.
  1. การติดเชื้อ เนื่องจากผู้ปฏิบัติขาดความระมัดระวัง
    ในด้านเทคนิคการทำหัตถการแบบปลอดเชื้อ
  1. Hepatic necrosis เนื่องจากใส่สาย umbilical catheter
    เข้าไปใน portal system และ อาจทำให้เกิด
    portal hypertension ภายหลังได้

การ stap