Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
จิตวิทยาวพัฒนาการวัยผู้ใหญ่ (วัยผู้ใหญ่ตอนกลาง(middle adulthood),…
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
2.1 หยุดพฤติกรรมการสูบบุหรี่และดื่มสุรา เพราะจะนำไปสู่หลอดเลือดหัวใจ โรคปอดต่างๆ
2.2 การออกกำลังกาย จะกระตุ้นการตื่นตัวและส่งผลดีต่ออวัยวะต่างๆในร่างกาย
2.3 วิถีชีวิตที่ไม่สม่ำเสมอเพราะคนช่วงวัยนี้ค่อนข้างใช้ชีวิตอยู่กับงานเป็นส่วนใหญ่ จึงมักมีปัญหาทางด้านการนอนดึก นอนหลับไม่เพียงพอ นอนไม่หลับ การดื่มน้ำน้อย การรับประทานอาหาร การขับถ่ายไม่ตรงเวลาและความเครียด
ลักษณะของวัยผู้ใหญ่ตอนต้น วัยผู้ใหญ่ตอนต้นอายุตั้งแต่ 20-40 ปี เป็นวัยบรรลุวุฒิภาวะทั้งกายและจิตใจ พร้อมเผชิญปัญหาและแก้ไขปัญหาได้ โดยไม่ต้องพึ่งพาอาศัยผู้อื่น มีความตึงเครียดทางอารมณ์เพราะช่วงชีวิตนี้พบเจอกับปัญหามากมายให้ต้องตัดสินใจ เช่นการเลือกอาชีพ การเลือกคู่ครอง และเป็นวัยที่เข้าสู่ชีวิตแต่งงาน มีครอบครัวและบทบาทเป็นพ่อแม่
ภาวะวิกฤตของวัยผู้ใหญ่ตอนต้น
ปัญหาที่พบคือปัญหาสุขภาพ เนื่องมาจากลักษณะการดำรงชีวิต เช่น การสูบบุหรี่ ดื่มสุรา การรับประทานและนำไปสู่โรคที่เกิดจากพฤติกรรม เช่น โรคถุงลมโป่งพอง โรคกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด โรคมะเร็ง รวมทั้งการเสียชีวิตจากอุบัติเหตุ การใช้อาวุธปืน เป็นต้น (Papalia and Olds,1995) วัยนี้มีการปรับบทบาทใหม่อย่างมาก ปัญหาที่เกิดขึ้นจึงเป็นปัญหาที่เกิดจากการไม่สามารถปรับเข้าสู่บทบาทใหม่ เช่น มีปัญหาในการงาน เพื่อนร่วมงาน การเปลี่ยนงาน การผิดหวังในความรัก การสิ้นสุดการหมั้น การสมรส ความผิดหวังจากการแท้งบุตร ความผิดหวังเกี่ยวกับเพศของบุตร เป็นต้น
:ลักษณะของวัยผู้ใหญ่ตอนกลาง
วัยผู้ใหญ่ตอนกลาง หมายถึง ผู้ที่อายุระหว่าง 40-60ปี ผู้ใหญ่ตอนกลางหรือวัยกลางคนเป็นช่วงของชีวิตที่ผ่านความเป็นผู้ใหญ่มานานพอสมควร ส่วนใหญ่มีการเปลี่ยนแปลงไปในทางเสื่อม ซึ่งมีผลกระทบต่อลักษณะอารมณ์ ในระยะนี้บุคคลจะเริ่มประเมินผลการดำเนินชีวิตในช่วงที่ผ่านมาในด้านต่างๆ
-
ลักษณะของวัยผู้ใหญ่ตอนปลาย
ผู้ที่มีอายุตั้งแต่ 60 ปีขึ้นไป ถือว่าเป็นผู้สูงอายุ (Elderly) วัยผู้สูงอายุเป็นช่วงสุดท้ายของวัยผู้ใหญ่ ทั้งนี้ความชราจะมีความแตกต่างกันในแต่ละบุคคล เช่น มีอาการชราภาพเร็ว อายุสั้นหรืออายุยืน เป็นต้น วัยนี้จะมีร่างกายและจิตใจเสื่อมลงอย่างรวดเร็วแต่แนวโน้มของคนในปัจจุบันนี้ จะมีอายุยืนยาวกว่าสมัยก่อน เพราะวิทยาการต่างๆ โดยเฉพาะการแพทย์เจริญก้าวหน้ามาก ช่วยส่งเสริมป้องกันรักษาชีวิตมนุษย์ให้ยืนยาว เป็นที่น่าสังเกตว่า ในผู้สูงอายุทั่วๆไปมีจำนวนผู้หญิงมากว่าผู้ชาย แม้ว่าอัตราส่วนระหว่างเพศเมื่อเกิดนั้นจะเป็นชายมากว่าหญิงหรือถ้ามีทารกเกิดเป็นเพศหญิง 100 คน ก็จะมีเพศชาย 106 คน ชายมีจำนวนมากกว่าหญิงเช่นนี้เรื่อยๆไปจนอายุ 30 ปี แต่เมื่ออายุมากขึ้นกว่านี้ ชายจะเสียชีวิตมากกว่าหญิง ดังนั้นผู้หญิงจึงมีอายุยืนยาวกว่าผู้ชาย