Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การประกันภัยรถยนต์ (2.การประกันภัยรถยนต์ภาคบังคับ (ลักษณะเฉพาะของการประกัน…
การประกันภัยรถยนต์
1.ความเป็นมา ความหมาย และประเภทของการประกันภัยรถยนต์
ความเป็นมา
มีการเปิดรับประกันภัยรถยนต์ขึ้นในประเทศอังกฤษ ช่วงสงครามโลกครั้งที่1 มีความจำเป็นในการใช้รถยนต์มากขึ้น เมื่อสงครามโลกสิ้นสุดลงมีการสร้างถนนและขยายเส้นทางการขนส่ง อังกฤษจึงมีแนวความคิดบังคับให้เอาประกันภัยรถยนต์เพื่อคุ้มครองความเสียหายที่เกิดขึ้นกับบุคคลที่ 3
ความหมายของการประกันภัยรถยนต์
คือ การประกันความสูญเสียหรือเสียหายอันเกิดจากการใช้รถยนต์
ประเภทของการประกันภัยรถยนต์
การประกันภัยรถยนต์ภาคบังคับ
การประกันภัยรถยนต์ภาคสมัครใจ
2.การประกันภัยรถยนต์ภาคบังคับ
วัตถุประสงค์ของการออกพระราชบัญญัติคุ้มครองผู็ประสบภัยจากรถ พ.ศ. 2535
1. เพื่อคุ้มครองและให้ความช่วยเหลือแก่ประชาชนผู้ประสลภัยจากรถ ให้ได้รับการรักษาอย่างทันท่วงที 2.เป็นหลักประกันให้กับโรงพยาบาลหรอสถานพยาบาล 3. เป็นสวัสดิการสงเคราะห์แก่ประชาชนผู้ที่ได้รับความเสียหาย 4. ส่งเสริมและสนันสนุนให้การประกันภัยเข้ามามีส่วนร่วมในการบรรเทาความเดอดร้อน
ผู้ได้รับความคุ้มครอง
1.ประชาชนทุกคน ที่ได้รับอุบัติเหตุทั้งในและนอกรถ 2. ผู้ขับขี่รถ / เจ้าของรถ / คนที่นั่งอยู่ในรถที่ไม่ได้เป็นผู้ขับขี่
รถที่ได้รับการยกเว้น
รถสำหรับเฉพาะองค์พระมหากษัตริย์ รถของกระทรวง ทบวง กรม และส่วนราชการทั้งส่วนกลางและท้องถิ่น (ยกเว้น รัฐวิสาหกิจ) รถของสำนักพระราชวังที่จดทะเบียน รถของหน่วยงานธูรการขององค์กร ที่เป็นอิสระขององค์กรใดๆ
ผู้มีหน้าที่ต้องทำประกันรถยนต์
คือ เจ้าของผู้ครอบครองฐานะผู้ซื้อ
ผู้มีหน้าที่รับประกันภัย
คือ บริษัทประกันวินาศภัยที่ได้รับอนุญาตให้ประกอบธุรกิจประกันภัยรถ
ความเสียหายที่ได้รับความคุ้มครอง
ค่าเสียหายเบื้องต้น
(กรณีได้รับบาดเจ็บแต่ไม่เสียชีวิต , เสียชีวิตทันที , ได้รับบาดเจ็บและเสียชีวิตในเวลาต่อมา , สูญเสียอวัยวะและทุพพลภาพถาวร
2. ค่าเสียหายส่วนที่เกินจากค่าเสียหายเบื้องต้น
(กรณีบาดเจ็บ , สูญเสียอวัยวะหรือทุพพลภาพในกรณีใดกรณีหนึ่ง , เสียชีวิตหรือทุพพลภาพอย่างถาวร , เข้าพักรักษาตัวในฐานะผู้ป่วยใน
ข้อยกเว้น
อันเกิดจาก สงครามการสู้รบ , สงครามกลางเมืองการกบฏ , วัตถุอาวุธปรมาณู , การแผ่รังสี , ความเสียหายจากการถูกยักยอกฉ้อโกง , การใช้รถนอกประเทศ , การใช้ในทางที่ผิดกฎหมาย , การใช้ในการแข่งขันความเร็ว(ถนนที่ไม่ได้รับอนุญาติ)
หน้าที่และความรับผิดชอบของกองทุนทดแทนผู้ประสบภัย
จ่ายค่าเสียหายเบื้องต้นให้แก่ผู้ประสบภัย
(กรณี อุบัติเหตุที่ไม่มี พรบ.และเจ้าของรถไม่ยอมจ่ายค่าเสียหาย , อุบัติเหตุเกิดจากรถที่ถูกชิงทรัพย์ ลักทรัพย์ , ไม่มีผู้แสดงตนเป็นเจ้าของรถและรถไม่มี พรบ. , ชนแล้วหนี )
การบอกเลิกกรมธรรม์
1.บริษัทบอกเลิก(แจ้งเป็นหนังสือล่วงหน้าไม่น้อยกว่า 30 วัน บริษัทจะคืนเบี้ยประกัน โดยหักเบี้ยประกันภัยสำหรับระยะเวลาที่กรมธรรม์ได้ใช้บังคับมาแล้ว
ลักษณะเฉพาะของการประกันภัยรถยนต์ภาคบังคับ
คุ้มครองเฉพาะร่างกายของผู้ประสบภัย
2.จ่ายเงินชดใช้ที่แน่นอน
ต้องชดใช้ค่าเสียหายเบื้องต้น (ไม่ต้องรอพิสูจน์ภายใน 7 วัน)
ผู้ประสบภัยจากรถยนต์ทุกคนจะได้รับความคุ้มครอง
เบี้ยประกัน 2% จะต้องนำส่งเข้ากองทุนทดแทนผู้ประสบภัย
3.การประกันภัยรถยนต์ภาคสมัครใจ
รูปแบบกรมธรรม์
1.กรมธรรม์แบบไม่ระบุชื่อผู้ขับขี่ (ใครขับก็ได้)
2.กรมธรรม์แบบระบุชื่อผู้ขับขี่
ประเภทของความคุ้มครองและจำนวนเงินจำกัดความรับผิดพื้นฐาน
1.ความคุ้มครองความรับผิดต่อชีวิต ร่างกาย หรืออนามัยของบุคคลภายนอก
2.ความคุ้มครองความรับผิดต่อทรัพย์สินของบุคคลภายนอก
3.ความคุ้มครองความรับผิดต่อความเสียหายของตัวรถยนต์
ข้อยกเว้น
เสื่อมราคาหรือสึกหรอ , แตกหัก เสียหายจากการบรรทุกน้ำหนักเกิน , ใช้นอกอาณาเขต , ใช้ในทางที่ผิดกฎหมาย , ใช้ในการแข่งขันความเร็ว , ใช้ลากจูงหรือผลักดัน
4.ความคุ้มครองความรับผิดต่อความสูญหายและไฟไหม้ของตัวรถยนต์
ระยะเวลาประกันภัย
ให้ความคุ้มครองตั้งแต่เวลา 00.01 น. ของวันที่เริ่มต้นระยะเวลาประกันภัย สิ้นสุดความคุ้มครอง เวลา 16.30 น.
ความเสียหายส่วนแรก
ความเสียหายส่วนแรกโดยความสมัครใจ
1. คุ้มครองความเสียหายต่อตัวรถยนต์ 2. คุ้มครองความเสียหายต่อทรัพย์สินบุคคลภายนอก
ความเสียหายส่วนแรกกรณีผิดสัญญา
1. กรณีกรมธรรม์ระบุชื่อ 2. กรณีใช้รถผิดประเภท 3. กรณีที่ถูกชนแล้วไม่สามารถหาคู่กรณีได้
ความคุ้มครองเพิ่มเติมจากความคุ้มครองหลัก(สัญญาแนบท้าย)
1.การประกันอุบัติเหตุส่วนบุคค
ล
กรณีเสียชีวิต
บริษัทจะจ่ายให้แก่ทายาทของผู้ที่ได้รับความคุ้มครอง
กรณีสูญเสียอวัยวะ(มือ เท้า สายตา)
ข้อมือ เท้า ข้อเท้า สายตา ทั้งสองข้าง ได้เงินเอาประกันภัย 100% , ข้อมือ เท้า ข้อเท้า สายตา สำหรับหนึ่งข้าง ได้เงินเอาประกันภัย 100% , เท้า ข้อเท้า สายตา สำหรับหนึ่งข้าง ได้เงินเอาประกันภัย 100% , มือหนึ่งข้าง ตั้งแต่ข้อมือได้เงินเอาประกันภัย 60% , เท้าหนึ่งข้างตั้งแต่ข้อเท้าได้เงินเอาประกันภัย 60% , ตาหนึ่งข้างได้เงินเอาประกันภัย 60%
บริษัทจะจ่ายค่าทดแทนตามข้อนี้เพียงรายการที่สูงสุดรายการเดียวเท่านั้น
2.การประกันค่ารักษาพยาบาล
3.การประกันตัวผู้ขับขี่
การกำหนดอัตราเบี้ยประกันภัย
1.เบี้ยประกันพื้นฐาน
แบ่งตามประเภทของรถยนต์ รถยนต์ , รถยนต์โดยสาร , รถยนต์บรรทุก , รถยนต์ลากจูง , รถพ่วง , รถจักรยานยนต์ , รถยนต์นั่งรับจ้างสาธารณะ , รถยนต์เบ็ดเตล็ด
**2.อัตราเบี้ยประกันเพิ่มเติมตามความเสี่ยง
จำแนกตามลักษณะ**
1. การใช้ส่วนบุคคล 2.การใช้เพื่อการพานิชย์ 3. การใช้รับจ้างสาธารณะ 4. การใช้เพื่อการพานิชย์พิเศษ 5.รถยนต์ป้ายแดง 6.รถพยาบาล 7.รถดับเพลิง 8.รถใช้ในการเกษตร 9.รถใช้ในการก่อสร้าง 10.รถอื่นๆ (รถที่อยู่นอกเหนือจากหลักเกณฑ์ดังกล่าวข้างต้น)
จำแนกตามขนาดของเครื่องยนต์
1.ขนาดเครื่องยนต์ 2.จำนวนที่นั่ง 3.น้ำหนักบรรทุก
จำแนกตามอายุผู้ขับขี่
อายุ 18-24 = 5% , อายุ 25-35 = 10% , อายุ 36-50 = 15% , อายุ 50 ปีขึ้นไป = 20%
จำแนกตามอายุรถยนต์
พิจารณาจากอายุการใช้งาน นับอายุโดยนับจากปีที่จดทะเบียน
จำแนกตามจำนวนเงินเอาประกันภัย
หมายถึง จำนวนเงินเอาประกันภัยของตัวรถคันที่เอาประกันภัย อัตราเบี้ยประกันภัยให้ใช้ตามตารางอัตราให้ใช้อัตราของจำนวนเงิน
จำแนกตามอุปกรณ์เพิ่มพิเศษ
หมายถึง อุปกรณ์เพิ่มเติมสำหรับรถยนต์บางประเภทซึ่งทำให้ความเสี่ยงภัยในการใช้รถเพิ่มขึ้น และมีผลทำให้ค่าสินไหมทดแทนเพิ่มขึ้นด้วย
3.อัตราเบี้ยประกันภัยเพิ่มความคุ้มครอง
ความคุ้มครองความรับผิดต่อชีวิต ร่างกายหรืออนามัยบุคคลภายนอก ความคุ้มครองความรับผิดต่อทรัพย์สินบุคคลภายนอก
4.อัตราเบี้ยประกันภัยสำหรับการประกันภัยเพิ่มเติมเอกสารแนบท้าย
เช่น การประกันอุบัติเหตุส่วนบุคคล การประกันค่ารักษาพยาบาล การประกันตัวผู้ขับขี่ เป็นต้น