Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Topic 7 : การถ่ายโอนความรู้ (ทฤษฎีการถ่ายโยงการเรียนรู้ (3.1…
Topic 7 : การถ่ายโอนความรู้
ความหมายของ “การถ่ายโยงการเรียนรู้”
การนำสิ่งเรียนรู้แล้วไปใช้ในสถานการณ์ใหม่ หรือการเรียนรู้ใน
อดีตเอื้อการเรียนรู้ใหม่
การนำสิ่งที่เรียนรู้แล้วในอดีตมาใช้แก้ปัญหา หรือน ามาสัมพันธ์
กับสภาพการณ์ใหม่ๆ ในปัจจุบันหรืออนาคต
ความสำคัญของการถ่ายโยงการเรียนรู้
ทำให้ครูเข้าใจถึงวิธีการสอน ที่จะช่วยให้เด็กเกิดการนำไปใช้
ในชีวิตจริงได้
จะทำให้ครูจัดหลักสูตรที่เหมือนหรือสัมพันธ์กับชีวิตจริงนอก
โรงเรียน
ทฤษฎีการถ่ายโยงการเรียนรู้
3.1 ทฤษฎีองค์ประกอบเดียวกัน (Identical-elements Theory)
การถ่ายโยงจะเกิดขึ้นก็ต่อเมื่อสถานการณ์ใหม่มีธาตุมูลเหมือนหรือคล้ายคลึงกับธาตุมูลในสถานการณ์ของการเรียนรู้ในอดีตธาตุมูล หมายถึง ข้อความจริงและทักษะเรียกการถ่ายโยงชนิดนี้ว่า “การถ่ายโยงสาระ”
การถ่ายโยงเกิดขึ้นจากความเหมือนกันของ
องค์ประกอบต่างๆ
ข้อเท็จจริงเฉพาะ และทักษะเฉพาะ
ดังนั้นหลังจากที่ผู้เรียนได้เรียนแตกฉานเรื่อง ข้อเท็จจริงแล้ว ผู้เรียนสามารถที่จะใช้การเรียนรู้นั้นในการแก้ปัญหาใหม่ที่เป็นข้อเท็จจริงอย่างเดียวกัน
เช่น เรียนการเขียนจดหมายไปแล้ว สามารถเขียนจดหมายได้
ธอร์นไดค์ (Thorndike, 1913)
3.2 ทฤษฎีการสรุปรวม (Generalization Theory)
การเรียนรู้หลักการจะช่วยเอื้อการ
ถ่ายโยงความรู้ เมื่อคนเราเรียนรู้หลักการแล้ว หลักการที่ได้เรียนรู้แล้วนั้น จะส่งเสริมการเรียนรู้ในงานต่อไปที่คล้ายคลึงกัน
การเข้าใจหลักการเอื้อต่อการถ่ายโยงบวก
การเข้าใจหลักการจะเอื้อการเรียนรู้เริ่มต้น (Initial learning)
การให้ข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับทฤษฎีหรือหลักการอย่างสมบูรณ์ จะช่วยทั้งการเรียนรู้
เริ่มต้น และการถ่ายโยงการเรียนรู้ได้ดีกว่าการให้ข่าวสารอย่างไม่สมบูรณ์
3.3 ทฤษฎีความคล้ายคลึงกันของการประมวลผลสารสนเทศ
เป็นทฤษฎีการถ่ายโยงของนักจิตวิทยากลุ่มเกสตัลท์ซึ่งอธิบายว่าการถ่ายโยงจะเกิดขึ้นได้ก็ต่อเมื่อผู้เรียนมีความเข้าใจอย่างมีความหมาย ที่สังเกตได้จากการเรียนรู้จากกระบวนการเชิงพุทธิปัญญาและกลวิธีของงานสองชิ้นที่มีความคล้ายคลึงกัน
การใช้ความสามารถที่ได้รับจากการเรียนหรือปฏิบัติในงานชิ้นแรก
การใช้ความสามารถที่ได้รับการพัฒนาขึ้นจากงานชิ้นแรกไปส่งเสริมในงานชิ้นที่สอง
การระลึกได้ของข้อมูล ข้อเท็จจริง มโนมติ และหลักการของงานชิ้นแรก
ข้อความรู้ที่ได้รับการเรียนรู้จากการส่งเสริมการเรียนรู้ในงานชิ้นที่ 2
ประเภทของการถ่ายโยงการเรียนรู้
4.1 การถ่ายโยงทั่วไป – การถ่ายโยงเฉพาะ