Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ทฤษฎีผู้สูงอายุ image (ทฤษฎีทางสังคมวิทยา (Sociological theory)…
ทฤษฎีผู้สูงอายุ
ทฤษฎีทางชีวภาพ (Biological Theory)
ทฤษฎีด้านพันธุกรรม (Genetic Theory)
ทฤษฎีวิวัฒนาการ (Evolution theory)
พี่น้องทุกคนมีประวัติเป็นโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง
ทฤษฎีการกลายพันธุ์ (Somatic Mutation Theory)
ผู้สูงอายุไม่มีการเกิดโรคมะเร็งหรือมีการกลายพันธ์
ทฤษฎีการสะสมความผิดพลาดของ Cell (Error Theory)
นิวเคลียสของ Cell มีการถ่ายทอด DNA ที่ผิดปกติไปจากเดิม เป็นผลให้ Cell เสื่อมสลายและทำหน้าที่ไม่ได้
ทฤษฎีนาฬิกาชีวิต (Biological clock)
ผู้รับบริการอายุ 78 ปี เป็นวัยผู้สูงอายุตอนกลาง
ทฤษฎีอวัยวะ (Organ Theory)
ทฤษฎีความเสื่อมโทรม (Wear and Tear Theory)
อายุ 54 ปี ผมเริ่มหงอก
ผู้รับบริการได้รับการผ่าตัดตาต้อกระจก ตาซ้ายอายุ 63 ปีตาขวาตอนอายุ 71
อายุ 42 ปีตรวจพบว่าเป็นโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง เมื่ออายุ 42 ปี
อายุ 76 ปีมีการปวดของโรคเกาต์
ทฤษฎีเกี่ยวข้องกับประสาทและต่อมไร้ท่อ (Neuroendocrine theory)
เป็นโรคเบาหวานตอนอายุ 42 ปี
ทฤษฎีภูมิคุ้มกัน (Immunological Theory)
ผู้สูงอายุมีอายุ 78 ปี การสร้างสารภูมิคุ้มกันตามปกติจะลดลงเพราะอวัยวะที่มีส่วนช่วยสร้าง ภูมิคุ้มกันมีการเสื่อมสภาพ ทำให้ ผู้สูงอายุจะป่วยง่ายขึ้น
ทฤษฎีสรีรวิทยา (Physiological Theory)
ทฤษฎีความเครียดและการปรับตัว (Stress Adaptation Theory)
ผู้สูงอายุมีวิตกกังวลในเรื่องโรคที่เป็นแต่สามารถปฏิบัติตัวใช้ชีวิตประจำวันได้ตามปกติ
ทฤษฎีการสะสม (Accumulative theory)
ชอบรับประทานอาหารที่มีรสหวาน จึงเกิดการสะสมอาจก่อให้เกิดโรคเบาหวานในเวลา
ทฤษฎีอนุมูลอิสระ (Free Radical Theory)
ชอบรับประทานอาหารที่มีไขมันสูง เช่น ขนมหวาน แกงกะทิ
ทฤษฎีการเชื่อมตามขวาง (Cross linking theory)
ผู้สูงอายุมีใบหน้าที่หย่อนคล้อยตามอายุผิวหนังบริเวณคอและต้นแขนเหี่ยวย่นเล็กน้อย มีความตึงตัวลดลง ผนังหลอดเลือดขาดความยืดหยุ่นทำให้เกิดโรคความดันโลหิตสูง
ทฤษฎีทางจิตวิทยา (Psychological Theory)
ทฤษฎีบุคลิกภาพ (Personality Theory)
ผู้รับบริการมีบุคลิกภาพเป็นคนใจเย็นมีความเมตตากรุณาต่อผู้อื่น เห็นใจผู้อื่น
ทฤษฎีของอิริคสัน (Erikson's Epigenetic Theory)
ในขั้นที่ 7 อายุ 40-59 ปี ในช่วงนั้นผู้รับบริการประกอบอาชีพรับราชการครูที่จังหวัดพิจิตร ถือว่าเป็นอาชีพที่มั่นคง
ในขั้นที่ 8 เป็นช่วงอายุตั้งแต่ 60 ปีขึ้นไป ในช่วงนี้ผู้รับบริการอยู่ในช่วงชีวิตหลังเกษียณอายุราชการไม่ได้ประกอบอาชีพ แต่มีเงินบำนาญที่ใช้จ่ายในครอบครัวพอมีพอใช้ไม่ขัดสนทำให้ผู้สูงอายุมีความมั่นคงทางจิตใจ
ทฤษฎีของเพค (Peck’s Theory)
1) มีความรู้สึกเกี่ยวกับงานที่ทำอยู่โดยจะรู้สึกว่าตนยังมีคุณค่าอยู่แม้ว่าบทบาทหน้าที่การทำงานจะลดลง
2) มีความรู้สึกยอมรับว่าสภาพร่างกายของตนถดถอยลงและใช้ชีวิตอย่างมีความสุข
3) มีความรู้สึกที่ยอมรับกฎเกณฑ์และการเปลี่ยนแปลงทางธรรมชาติและยอมรับความตายได้
ทฤษฎีทางสังคมวิทยา (Sociological theory)
ทฤษฎีกิจกรรม ( Activity Theory )
ผู้รับบริการเลยไม่ค่อยได้พบปะใคร
ทฤษฎีแยกตนเองหรือทฤษฎีการถอยห่าง (Disengagement Theory)
ผู้รับบริการได้ย้ายบ้านจากจังหวัดพิจิตรมาเช่าบ้านอยู่ที่จังหวัดพิษณุโลกจึงทำให้ผู้รับบริการไม่คุ้นเคยกับคนในชุมชนจึงไม่ได้ออกไปพบปะพูดคุยกับใคร
ทฤษฎีความต่อเนื่อง (Continuity Theory)
ผู้สูงอายุมีการดำเนินชีวิตตั้งแต่สมัยวันรุ่นก็จะทำงานหาเลี้ยงครอบครัว ทำงานบ้าน จนปัจจุบันก็ยังทำงานบ้านอยู่
ทฤษฎีบทบาท (Role Theory)
เมื่อก่อนผู้รับบริการมีบทบาทในการทำงานหาเงินเลี้ยงคนในครอบครัว ในปัจจุบันทำงานอดิเรกโดยการพับเหรียญ