Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 8 การประกันอัคคีภัย (รูปแบบของการประกันอัคคีภัย (การประกันอัคคีภัยระ…
บทที่ 8 การประกันอัคคีภัย
ความเป็นมาของการประกันอัคคีภัย
การประกันอัคคีภัยเริ่มขึ้นหลังจากการเกิดเพลิงไหม้ครั้งใหญ่ในกรุงลอนดอนนานถึง 4 วัน 4 คืน สร้างความเสียหายอย่างมากหลังจากนั้น 1 ปี Dr.Nicholas Barbon ได้ก่อตั้งสำนักงานรับประกันอัคคีภัยแห่งแรกในกรุงลอนดอน มีชื่อว่า "The Fire Office"
รูปแบบของการประกันอัคคีภัย
การประกันอัคคีภัยระยะสั้น ระยะยาว
การประกันอัคคีภัยระยะสั้น
การประกันอัคคีภัยที่มีระยะเวลาคุ้มครองเกิน 1 ปี แต่ไม่เกิน 3 ปี
การประกันอัคคีภัยแบบการชดใช้ตามมูลค่า
การประกันอัคคีภัยแบบกระแสรายวัน
การประกันอัคคีภัยแบบคืนเบี้ย
การประกันอัคคีภัยแบบกรมธรรม์ร่วม
การประกันภัยธุรกิจหยุดชะงัก
ความหมายและขอบเขตของการประกันภัยอัคคีภัย
การให้ความคุ้มครองทรัพย์สินต่าง ๆ ของผู้เอาประกันภัยไม่ว่าจะเป็นสังหาริมทรัพย์ อสังหาริมทรัพย์ ทรัพย์ที่มีรูปร่างและทรัพย์ที่ไม่มีรูxร่าง ที่อาจเกิดความสูญเสียหรือเสียหายไม่ว่าทั้งหมดหรือบางส่วนจากเหตุเพลิงไหม้เป็นหลัก รวมถึงความเสียหายสืบเนื่องจากไฟ
สำหรับคำว่า ไฟ ในความหมายของการประกันอัคคีภัยนั้นให้หมายถึง ไฟที่ลุกขึ้นมาเป็นเปลว เป็นไฟที่ไม่มีใครต้องการ เพราะเป็นเปลวไฟที่ทำลายทรัพย์สินต่าง ๆ ซึ่งเป็นอุบัติเหตุหรือความสะเพร่าของมนุษย์ หรือไฟที่เกิดขึ้นด้วยเจตนาหรือความจงใจของบุคคลอื่น ซึ่งผู้เอาประกันภัยไม่มีส่วนรู้เห็นเป็นใจด้วย
ในประเทศไทย เราสามารถแบ่งการประกันอัคคีภัย ได้เป็น 2 ประเภท
การประกันอัคคีภัยมาตรฐาน (แบบทั่วไป) หรือการประกันอัคคีภัยส าหรับสถานประกอบการธุรกิจ
การประกันอัคคีภัยสำหรับที่อยู่อาศัย เป็นการประกันภัยที่แยกออกมาจากการประกันอัคคีภัยทั่วไป
ขอบเขตการประกันอัคคีภัยของกรมธรรม์ประกันอัคคีภัยมาตรฐาน
ข้อยกเว้น (Exclusion)
ความเสียหาย ซึ่งเกิดขึ้นจากสงคราม การรุกราน การกระทำที่มุ่งร้ายคล้ายสงคราม
ความเสียหายที่เป็นผลโดยตรง หรือโดยอ้อมจากสาเหตุดังนี้
การแผ่รังสีหรือการแพร่กัมมันตภาพรังสีจากเชื้อเพลิงนิวเคลียร์หรือจากกากนิวเคลียร์ใด ๆ อันเนื่องมาจากการเผาไหม้ของเชื้อเพลิงนิวเคลียร์
การระเบิดของกัมมันตรังสี หรือส่วนประกอบของนิวเคลียร์ หรือทรัพย์อันตรายอื่นใดที่อาจเกิดระเบิดในกระบวนการนิวเคลียร์ได้
ความเสียหายต่อทรัพย์สินซึ่งเกิดขึ้นในขณะที่ผู้เอาประกันภัยสามารถเรียกร้องค่าเสียหายได้
ทรัพย์สินดังต่อไปนี้ เว้นแต่จะได้ระบุไว้โดยชัดแจ้งเป็นอย่างอื่น
สินค้าที่อยู่ในการดูแลรักษาของผู้เอาประกันภัยในฐานะผู้รับฝากทรัพย์
เงินแท่งหรือเงินรูปพรรณ หรือทองค าแท่ง หรือทองรูปพรรณ หรือ อัญมณี
โบราณวัตถุหรือศิลปวัตถุสำหรับความเสียหายส่วนรวมที่เกินกว่า 10,000 บาท
ต้นฉบับหรือสำเนาเอกสาร แบบแปลน แผนผัง ภาพเขียน รูปออกแบบ ลวดลายแบบ หรือ แบบพิมพ์ หรือแม่พิมพ์
หลักประกันหนี้สิน หลักทรัพย์ เอกสารส าคัญต่าง ๆ ไปรษณียากร อากรแสตมป์เงินตราธนบัตร เช็ค สมุดบัญชี หรือสมุดเกี่ยวกับธุรกิจใด ๆ
วัตถุระเบิด
ไดนาโม หม้อแปลงไฟฟ้า เครื่องก าเนิดไฟฟ้า มอเตอร์ไฟฟ้า แผงควบคุมไฟฟ้าอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ หรือเครื่องใช้ไฟฟ้าอื่น ๆ ซึ่งได้รับความเสียหายเนื่องจากการเดินเครื่องเกินก าลัง หรือได้รับกระแสไฟฟ้าเกินก าลัง หรือไฟฟ้าลัดวงจรเนื่องจากฟ้าผ่าเฉพาะเครื่องที่เกิดการเสียหายในกรณีดังกล่าว
ความเสียหายต่อเนื่องใด ๆ ทุกชนิดยกเว้นแต่การสูญเสียรายได้จากค่าเช่าที่ได้ระบุไว้ในกรมธรรม์ประกันภัยฉบับนี้ว่าได้รับความคุ้มครอง
ความเสียหายจากการเผาทรัพย์สิน โดยคำสั่งเจ้าหน้าที่ หรือพนักงานผู้มีอำนาจตามกฎหมาย
ภัยเพิ่มเติม (Special peril)
ภัยธรรมชาติ ได้แก่ ภัยลมพายุ ภัยจากลูกเห็บ ภัยแผ่นดินไหว ภัยน้ำท่วม ภัยไฟป่าภัยจากควัน และภัยเนื่องจากน้ำ
ภัยทางเคมี ได้แก่ ภัยที่เกิดขึ้นเองตามปกติวิสัย มีการลุกไหม้หรือการระเบิด ภัยที่เกิดขึ้นเองตามปกติวิสัย และ/หรือ มีการลุกไหม้หรือการระเบิด
ภัยทางสังคม ได้แก่ ภัยจลาจลและการนัดหยุดงาน ภัยจากการกระทำอันป่าเถื่อนและเจตนาร้าย
ภัยเบ็ดเตล็ด ได้แก่ ภัยจากอากาศยาน ภัยจากยวดยานพาหนะ
ความคุ้มครอง (Coverage)
ไฟไหม้ แต่ไม่รวมถึงความเสียหาย
จากแรงระเบิด อันเป็นผลมาจากไฟไหม้ เว้นแต่แรงระเบิดของแก๊สที่ใช้
สำหรับจุดให้แสงสว่างหรือประโยชน์เพื่อการอยู่อาศัย
เป็นผลโดยตรงหรือโดยอ้อมจากแผ่นดินไหว
ต่อทรัพย์สินที่เอาประกันภัย อันเกิดจาก
การบูดเน่าหรือการระอุตามธรรมชาติ คือ การลุกไหม้ขึ้นเอง เฉพาะที่เกิด
จากตัวทรัพย์สินนั้นเองเท่านั้น
การที่ทรัพย์สินนั้นอยู่ในระหว่างกรรมวิธีใด ๆ ซึ่งใช้ความร้อนหรือการทำ
ให้แห้ง
ฟ้าผ่า
แรงระเบิดของแก๊ส ที่ใช้สำหรับให้แสงสว่างหรือประโยชน์เพื่อการอยู่อาศัยเท่านั้น แต่ไม่รวมถึงความเสียหายจากการระเบิดของแก๊สจากแผ่นดินไหว
ความเสียหายที่สืบเนื่องจากไฟ
ความเสียหายที่เกิดจากน้ำที่ใช้ดับไฟ หรือสารดับเพลิงอื่น ๆ ที่ใช้ดับไฟ
ความเสียหายอันเกิดจากเจ้าหน้าที่ดับเพลิง
ความเสียหายที่ถูกระเบิดเพื่อป้องกันมิให้ไฟขยายตัวต่อไป
ความเสียหายจากควันหรือการถูกลนจนเกรียมด้วยความร้อนจากไฟ
ความเสียหายที่เกิดจากพังทลายของกำแพงหรือการหล่นลงมาของชิ้นส่วนอาคารที่ถูกไฟไหม้
ความเสียหายที่เกิดขึ้นโดยตรงหรือสืบเนื่องมาจากฟ้าผ่า ไม่ว่าจะมีไฟเกิดขึ้นหรือไม่ก็ตาม ย่อมได้รับความคุ้มครองจากกรมธรรม์ประกันอัคคีภัย
ความเสียหายเนื่องจากภัยเพิ่มพิเศษ ที่ได้ระบุไว้ชัดเจนในกรมธรรม์ประกันภัย
ทรัพย์สินที่เอาประกันภัย (Insured property)
สิ่งปลูกสร้างตัวอาคาร
เฟอร์นิเจอร์ เครื่องตกแต่ง สิ่งติดตรึงตรา เครื่องใช้และอุปกรณ์ไฟฟ้าต่าง ๆ
เครื่องจักรและอุปกรณ์
สต็อกสินค้า วัตถุดิบ สินค้าระหว่างการผลิต สินค้ากึ่งส าเร็จรูป และสินค้าสำเร็จรูปรวมทั้งวัสดุหีบห่อ
ทรัพย์สินอื่น ๆ ได้แก่ ทรัพย์สินที่มิได้ระบุไว้ข้างต้น หรือทรัพย์สินที่มีมูลค่าสูง เช่นเครื่องคอมพิวเตอร์ เปียโน เป็นต้น
ขอบเขตของการประกันอัคคีภัย แบ่งออกเป็น 4 ประเภท
ข้อยกเว้น (Exclusion)
ภัยเพิ่มเติม (Special peril)
ความคุ้มครอง (Coverage)
ทรัพย์สินที่เอาประกันภัย (Insured property)
ขอบเขตการประกันอัคคีภัยของกรมธรรม์ประกันอัคคีภัยสำหรับที่อยู่อาศัย
ความคุ้มครอง
ไฟไหม้
ฟ้าผ่า (รวมถึงความเสียหายต่อเครื่องใช้ไฟฟ้าและอุปกรณ์ไฟฟ้าที่เกิดจากการลัดวงจรจากฟ้าผ่า)
ระเบิด
ภัยจากการเฉี่ยว และหรือการชนของยานพาหนะหรือสัตว์พาหนะ
ภัยจากอากาศยาน และหรือวัตถุที่ตกจากอากาศยาน
ภัยเนื่องจากน้ำ
ภัยจากลมพายุ
ภัยจากแผ่นดินไหว
ภัยจากน้ำท่วม
ภัยจากลูกเห็บ
ข้อยกเว้น
ความเสียหายซึ่งเกิดขึ้น เป็นผลโดยตรงหรือโดยอ้อมจากสงคราม การรุกราน การกระทำที่มุ่งร้ายของศัตรูต่างชาติ
ความเสียหายที่เป็นผลโดยตรง หรือโดยอ้อมจากสาเหตุดังนี้
การแผ่รังสี หรือการแพร่กัมมันตภาพรังสีจากเชื้อเพลิงนิวเคลียร์
ทรัพย์สินต่อไปนี้ เว้นแต่จะได้ระบุไว้โดยชัดเจนเป็นอย่างอื่นในกรมธรรม์ประกันภัย
ความเสียหายจากการเผาทรัพย์สิน โดยคำสั่งเจ้าหน้าที่ หรือพนักงานผู้มีอำนาจตามกฎหมาย
ภัยเพิ่มเติม
ภัยลมพายุ
ภัยน้้ำท่วม
ภัยแผ่นดินไหว หรือภูเขาไฟระเบิด หรือคลื่นใต้น้ำหรือสึนามิ
ภัยจากลูกเห็บ
กลุ่มภัยธรรมชาติ (ภัยจากลมพายุ ภัยจากน้ำท่วม ภัยจากแผ่นดินไหว หรือภูเขาไฟระเบิด หรือคลื่นใต้น้ำ หรือสึนามิ ภัยจากลูกเห็บ)
ทรัพย์สินที่เอาประกันได้
สิ่งปลูกสร้าง (ไม่รวมฐานราก)
ทรัพย์สินภายในสิ่งปลูกสร้าง
กรมธรรม์ประกันอัคคีภัย
ตารางกรมธรรม์
สถานที่ตั้งหรือทรัพย์สินที่เอาประกันภัย
ชื่อที่อยู่ของผู้ที่เอาประกันภัย
ระยะเวลาเอาประกันภัยจะมีระยะเวลา 1 ปี โดยเริ่มตั้งแต่เวลา 16.00 น.ของวันทำสัญญาประกันภัยจนสิ้นสุดเวลา 16.00 น. ของระยะเวลาครบรอบ 1 ปี
เงื่อนไขการรับประกันภัยเป็นส่วนที่บ่งบอกหน้าที่ของผู้เอาประกันภัยต้องรับทราบและปฏิบัติเงื่อนไขที่กำหนด
ข้อความสำคัญของสัญญา
ข้อยกเว้น
เงื่อนไขทั่วไปในการรับประกันภัย
การประกันภัยทรัพย์สินต่ำกว่ามูลค่าแท้จริง
การตกเป็นโมฆียะของกรมธรรม์ประกันภัย (เฉพาะกรมธรรม์ประกันอัคคีภัยสำหรับที่อยู่อาศัย)
หน้าที่ในการรักษาสิทธิของบริษัทเพื่อรับช่วงสิทธิ
การผิดคำรับรอง (เฉพาะกรมธรรม์ประกันอัคคีภัย)
การเรียกร้องและชดใช้ค่าสินไหมทดแทน
การชดใช้โดยการสร้างให้ใหม่หรือจัดหาทรัพย์สินมาทดแทน
การประกันภัยซ้ำซ้อนและการร่วมเฉลี่ยการชดใช้ค่าสินไหมทดแทน
สิทธิของบริษัทในซากทรัพย์สินที่ได้รับความเสียหาย
การทุจริต (เฉพาะกรมธรรม์ประกันอัคคีภัย)
การปฏิเสธค่าสินไหมทดแทน (เฉพาะกรมธรรม์ประกันอัคคีภัยสำหรับที่อยู่อาศัย)
การระงับข้อพิพาทโดยอนุญาโตตุลาการ
อายุความ
การบอกกล่าว
การบอกเลิกกรมธรรม์ประกันภัย
การกำหนดอัตราเบี้ยประกันอัคคีภัย
ลักษณะของสิ่งปลูกสร้าง
วัสดุก่อสร้าง
องค์ประกอบอาคาร
ประเภทของอาคาร
ลำดับชั้นของสิ่งปลูกสร้าง
สำหรับอาคารประเภทอยู่อาศัย
สิ่งปลูกสร้างชั้น 1 เป็นอาคารที่มีโครงสร้างเป็นคอนกรีตเสริมเหล็ก
หรือ มีฉนวนห่อหุ้มและผนังทำด้วยคอนกรีตเสริมเหล็ก หิน อิฐ
ฉาบปูน 2 ด้านมากกว่า 80%
สิ่งปลูกสร้างชั้น 2 เป็นอาคารที่มีโครงสร้างหลักเป็นคอนกรีตเสริมเหล็ก หรือเหล็กที่มีฉนวนห่อหุ้ม และผนังทำด้วยคอนกรีตเสริมเหล็กหิน อิฐฉาบปูน 2 ด้านระหว่าง 50 - 80%
สิ่งปลูกสร้างชั้น 3 เป็นอาคารที่ไม่มีลักษณะดังที่กำหนดในสิ่งปลูก
สร้างชั้น 1 และ ชั้น 2
สำหรับอาคารประเภทอื่น ๆ ที่ไม่ได้กำหนดไว้
ลักษณะของการประกอบการ
การประกอบการที่ไม่มีการผลิต เช่น สถาบันการศึกษา สำนักงาน โรงพยาบาล
การประกอบการที่มีการผลิต วัตถุดิบส่วนใหญ่เป็นผลิตผลทางกสิกรรม เช่น โรงสีข้าว โรงงานทำเต้าหู้
การประกอบการที่มีการผลิต วัตถุดิบส่วนใหญ่เป็นจำพวกสัตว์ เช่น โรงงานปลาป่น โรงงานฟอกหนัง
การประกอบการที่มีการผลิต วัตถุดิบส่วนใหญ่เป็นจำพวกโลหะ เช่น โรงงานผลิตตัวถังรถ โรงงานผลิตตู้เย็น
การประกอบการที่มีการผลิต วัตถุดิบส่วนใหญ่เป็นจำพวกแร่ เช่น โรงงานผลิตแบตเตอรี่ โรงงานผลิตกระจกเงา
การประกอบการที่มีการผลิต วัตถุดิบส่วนใหญ่เป็นจำพวกเคมีภัณฑ์ เช่น
โรงงานผลิตผงซักฟอก โรงงานผลิตเชือกไนลอน
การประกอบการที่มีการผลิต วัตถุดิบส่วนใหญ่เป็นจำพวกน้ำมันแร่ เช่น โรงงานกลั่นน้ำมัน โรงงานผลิตจาระบี
สถานที่ตั้งและสิ่งแวดล้อม
ระบบการป้องกันอัคคีภัยและการติดตั้งอุปกรณ์ดับเพลิง
ประสบการณ์การประกันอัคคีภัยในอดีต
การกำหนดจำนวนเงินเอาประกันภัย
กำหนดจำนวนเงินเอาประกันภัยตามมูลค่าทรัพย์สินที่เป็นของใหม่
กำหนดจำนวนเงินเอาประกันภัยตามมูลค่าที่แท้จริงของทรัพย์สิน
ผลบังคับของสัญญาประกันภัยภายหลังที่เกิดความเสียหาย
การชดใช้ค่าสินไหมทดแทน
การเสียหายหมด
การสูญเสียบางส่วน
ความเสียหายหรือสูญเสียจากการคุ้มครองความเสียหายส่วนแรก
การรับช่วงสิทธิของผู้รับประกันภัย
การยกเว้นความรับผิดตามสัญญาประกันภัย
การยกเว้นความรับผิดตามกฎหมาย ในกรณีที่
วินาศภัยเกิดขึ้นเนื่องจากความไม่สมประกอบในเนื้อวัตถุที่เอาประกันภัย
ผู้เอาประกันภัยทุจริต
การตกลงยกเว้นความรับผิดในสัญญาประกันภัยระหว่างคู่สัญญา
กรณีคู่สัญญาขัดแย้งกัน สิทธิของผู้เอาประกันภัยกรณีขัดแย้งมีดังนี้
การตัดสินใจโดยอนุญาโตตุลาการ
การดำเนินคดีในศาล
นางสาวสุภาวดี สามัญ รหัสนิสิต592021029 สาขาคณิตศาสตร์