Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ลำไส้อักเสบ (Enterocolitis) (การรักษา (การให้ยา (การกินอาหารอ่อน…
ลำไส้อักเสบ (Enterocolitis)
สาเหตุ
ผู้มีปัจจัยเสี่ยงที่จะเกิดลำไส้อักเสบสาเหตุจากติดเชื้อโรค
ผู้ที่อาศัยอยู่ในถิ่นที่การสาธารณสุขยังไม่เจริญ
นักท่องเที่ยว
ผู้ที่อาศัยอยู่ในที่แออัด เช่น โรงเรียน ค่ายทหาร ค่ายอพยพ
ผู้ดูแลผู้ป่วยโรคระบบทางเดินอาหาร
ผู้มีปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดลำไส้อักเสบสาเหตุไม่ได้เกิดจากการติดเชื้อ
มีประวัติโรคนี้ในครอบครัว (พันธุกรรม) เช่น ในโรคลำไส้ใหญ่อักเสบเป็นแผลเรื้อรัง, หรือ เด็กคลอดก่อนกำหนดเป็นปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดลำไส้อักเสบที่เรียกว่า โรคNecrotizing enterocolitis เป็นต้น
อาการ
ลักษณะอุจจาระอาจ เหลว เป็นน้ำ เป็นมูก หรือเป็นมูกเลือด มักมีกลิ่นเหม็นผิดปกติ โดยสีอาจปกติ หรือ ซีดกว่าเดิม
มีไข้ พบได้ทั้งไข้สูง หรือไข้ต่ำ ขึ้นกับสาเหตุ
รู้สึกหนาวสั่น
คลื่นไส้ อาเจียน
อ่อนเพลีย
ถ้าท้องเสียมากโดยเฉพาะมีอาเจียนร่วมด้วย และ/หรือดื่มน้ำได้น้อย มักมีภาวะขาดน้ำ
การวินิจฉัย
การซักถามประวัติทางการแพทย์ของผู้ป่วย ที่สำคัญคือ ประวัติอาการ ประวัติการเดินทาง ประวัติถิ่นที่อยู่อาศัย และการระบาดของโรค
การตรวจร่างกาย
การตรวจอุจจาระ
ดูค่า ซีบีซี(CBC) เพื่อดูว่ามีการติดเชื้อแบคทีเรียหรือไม่
ดูค่าเกลือแร่/ Electrolyte (ดูภาวะขาดน้ำ)
การตรวจเพาะเชื้อจากอุจจาระหรือจากเลือด
การรักษา
การป้องกันภาวะขาดน้ำด้วยการให้กินผงละลายเกลือแร่โออาร์เอส [ORS / Oral rehydration salt,
ขาดน้ำมาก จะเป็นการให้น้ำเกลือทางหลอดเลือดดำ
การให้ยา
การกินอาหารอ่อน หรืออาหารน้ำ อาหารเหลว
การใช้ยาแก้ปวดท้อง Paracetamol (500mg/Tab)
การให้ยาลดไข้
ยาแก้คลื่นไส้อาเจียน
คำแนะนำ
กินอาหารอ่อน
ดื่มน้ำให้ได้มากกว่าปกติ อย่างน้อยต้องชดเชยน้ำที่เสียไปจากการถ่ายอุจจาระและ/หรืออาเจียน
ดื่มน้ำเกลือแร่ ORS เมื่อมีอาการท้องเสียต่อเนื่อง หรือท้องเสียมาก
กินอาหารมีประโยชน์ห้าหมู่ให้ครบ กินครั้งละน้อยๆ แต่กินให้บ่อยขึ้น
พักผ่อนให้เพียงพอ
รักษาความสะอาดอาหารและน้ำดื่ม
รักษาความสะอาดเครื่องใช้ส่วนตัว ชาม ช้อน แก้วน้ำ การล้างมือก่อนกินอาหาร และหลังเข้าห้องน้ำ