Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ข้อเสื่อม (Osteoarthritis) (ปัจจัยเสี่ยง (อายุ ยิ่งอายุมาก…
ข้อเสื่อม (Osteoarthritis)
อาการ
อาจได้ยินเสียงลั่นในข้อ
ข้อติดขยับข้อได้ยาก โดยเฉพาะในช่วงเช้าหลังตื่นนอน
ข้อบวมขึ้น เนื่องจากมีน้ำเลี้ยงข้อเพิ่มขึ้นในระยะที่ข้ออักเสบ
มีอาการปวดเป็นๆหายๆ
ช่วงที่ข้ออยู่ในระยะอักเสบ จะมีอาการปวดข้อตลอดเวลา อาการปวดจะรุนแรงมากขึ้นขณะนั่งยองๆ คุกเข่า ขัดสมาธิ พับเพียบเป็นเวลานาน เมื่อลุกขึ้นจะเกิดอาการปวดข้อมาก
การรักษาเบื้องต้น
หลีกเลี่ยงกิจกรรมที่ทำให้เกิดอาการปวดเช่น การนั่งยอง คุกเข่า ขัดสมาธิ พับเพียบ
งดเว้นกิจกรรมหรือเล่นกีฬาที่ทำให้เกิดแรงกระทำต่อข้อมากๆ
กินยาแก้ปวดเช่น ยาพาราเซตามอล (Paracetamol)
การรักษา
ยาแก้ปวดพาราเซตามอล (Paracetamol)
กลุ่มยาออกฤทธิ์ช้าเพื่อชะลอความเสื่อม
กลูโคซามีน ซัลเฟต (Glucosamine sulphate)
คอนดรอยติน ซัลเฟต (Chondroitin sulphate)
ไดอะเซอรีน (Diacerein ) รับประทานยา 50 มิลลิกรัม วันละ1ครั้ง พร้อมอาหารเย็น เป็นเวลา 2–4 สัปดาห์
การผ่าตัด
การผ่าตัดเพื่อล้างข้อ ไม่มีประโยชน์ และไม่แนะนำ
การผ่าตัดแก้ไขแนวกระดูก มีข้อบ่งชี้ในกรณีข้อเสื่อมปานกลาง ไม่ตอบสนองต่อการรักษาด้วยวิธีไม่ผ่าตัด
การผ่าตัดเปลี่ยนข้อเทียม มีข้อบ่งชี้ในกรณีข้อเสื่อมรุนแรง ไม่ตอบสนองต่อการรักษาด้วยวิธีอื่นๆ
คำแนะนำ
การให้คำแนะนำผู้ป่วยเกี่ยวกับโรค ปัจจัยเสี่ยง และหลีก เลี่ยงกิจกรรมที่ทำให้อาการปวดรุนแรงขึ้น
การออกกำลังกายเพื่อให้กล้ามเนื้อแข็งแรง
ลดน้ำหนักตัว
การใช้เครื่องช่วยเดินในการเดิน เช่นไม้ค้ำยัน/ไม้เท้า
การประคบร้อนในช่วง 48 ชั่วโมงแรกหลังมีอาการปวด และประคบเย็นหลังเกิดอาการ 48 ชั่วโมง
การรักษาด้วย คลื่นอัลตราซาวด์ การกระตุ้นไฟฟ้าผ่านผิว หนัง เลเซอร์ และ/หรือ ฝังเข็ม มีประสิทธิผลน้อยและค่าใช้จ่ายสูง
ปัจจัยเสี่ยง
อายุ ยิ่งอายุมาก ยิ่งมีโอกาสเกิดข้อเสื่อมมาก
เพศหญิง มีโอกาสเกิดข้อเสื่อมมากกว่าเพศชาย
ระดับการทำกิจกรรมในแต่ละวันสูง การเล่นกีฬาที่ทำให้เกิดแรงกระทำต่อข้อมาก
โรคอ้วนและน้ำหนักตัวเกิน
เคยได้รับบาดเจ็บที่ข้อนั้นๆมาก่อน
แนวกระดูกที่ประกอบเป็นข้อผิดรูป เช่น มีเข่าโก่ง
เยื่อบุข้ออักเสบเรื้อรัง